ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย
ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย (เปอร์เซีย: الفبای فارسی, อักษรโรมัน: Alefbā-ye Fārsi) หรือ ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ เป็นระบบการเขียนที่ใช้ในภาษาเปอร์เซียหลังการพิชิตจักรวรรดิเปอร์เซียโดยมุสลิมในคริสต์ศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา
ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย الفبای فارسی Alefbā-ye Fārsi | |
---|---|
"ฟอร์ซี" เขียนใน ชุดตัวอักษรเปอร์เซีย แบบแนสแทอ์ลีก | |
ชนิด | อักษรไร้สระ
|
ทิศทาง | ขวาไปซ้าย |
ภาษาพูด | เปอร์เซีย |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
อักษรเปอร์เซียได้รับการพัฒนาและสืบทอดโดยตรงจากอักษรอาหรับ หลังการพิชิตเปอร์เซียของมุสลิมและการล่มสลายของจักรวรรดิซาเซเนียนในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ภาษาอาหรับจึงกลายเป็นภาษาของรัฐบาลและโดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาในเปอร์เซียเป็นเวลาสองศตวรรษ ซึ่งมีราชวงศ์ซัฟฟาริดถึงราชวงศ์ซามานิดในเกรตเตอร์โฆรอซอนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เป็นผู้แทนที่อักษรปะห์ลาวีด้วยอักษรอาหรับ[1][2][3]
ตัวอักษร
แก้ข้างล่างนี้คือชุดตัวอักษรเปอร์เซียสมัยใหม่ 32 ตัว เนื่องจากเป็นอักษรตัวเขียน ทำให้รูปร่างอักษรเปลี่ยนไปตามตำแหน่งของมัน แบ่งออกเป็น: เดี่ยว, หน้า (เชื่อมทางซ้าย), กลาง (เชื่อมทั้งสองด้าน) และท้าย (เชื่อมทางขวา)[4]
ชื่อของอักษรส่วนใหญ่เหมือนกับอักษรอาหรับ เพียงแต่อ่านเป็นภาษาเปอร์เซีย ชื่ออักษรที่กำกวมคือ he ซึ่งเป็นไปได้ทั้ง ح และ ه โดยมักแยกเป็น ḥä-ye jimi (แปลว่า "เฮคล้ายจีม" ตามอักษร ج ที่มีฐานเดียวกัน) กับ hâ-ye do-češm (แปลว่า "เฮสองตา" ตามรูปกลางของ ـهـ) ตามลำดับ
ตารางรวม
แก้# | ชื่อ (ภาษาเปอร์เซีย) |
ชื่อ (ทับศัพท์) |
DIN 31635 | สัทอักษรสากล | ยูนิโคด | รูปเชื่อม | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ท้าย | กลาง | หน้า | เดี่ยว | ||||||
0 | همزه | hamze[5] | ʾ | เสียงหยุด เส้นเสียง[ʔ] | U+0621 | — | — | — | ء |
U+0623 | ـأ | أ | |||||||
U+0626 | ـئ | ـئـ | ئـ | ئ | |||||
U+0624 | ـؤ | ؤ | |||||||
1 | الف | ʾalef | â | [ɒ] | U+0627 | ـا | ا | ||
2 | ب | be | b | [b] | U+0628 | ـب | ـبـ | بـ | ب |
3 | پ | pe | p | [p] | U+067E | ـپ | ـپـ | پـ | پ |
4 | ت | te | t | [t] | U+062A | ـت | ـتـ | تـ | ت |
5 | ث | s̱e | s̱ | [s] | U+062B | ـث | ـثـ | ثـ | ث |
6 | جیم | jim | j | [d͡ʒ] | U+062C | ـج | ـجـ | جـ | ج |
7 | چ | če | č | [t͡ʃ] | U+0686 | ـچ | ـچـ | چـ | چ |
8 | ح | ḥe (ḥâ-ye ḥotti, ḥâ-ye jimi) | ḥ | [h] | U+062D | ـح | ـحـ | حـ | ح |
9 | خ | xe | x | [x] | U+062E | ـخ | ـخـ | خـ | خ |
10 | دال | dâl | d | [d] | U+062F | ـد | د | ||
11 | ذال | ẕâl | ẕ | [z] | U+0630 | ـذ | ذ | ||
12 | ر | re | r | [r] | U+0631 | ـر | ر | ||
13 | ز | ze | z | [z] | U+0632 | ـز | ز | ||
14 | ژ | že | ž | [ʒ] | U+0698 | ـژ | ژ | ||
15 | سین | sin | s | [s] | U+0633 | ـس | ـسـ | سـ | س |
16 | شین | šin | š | [ʃ] | U+0634 | ـش | ـشـ | شـ | ش |
17 | صاد | ṣâd | ṣ | [s] | U+0635 | ـص | ـصـ | صـ | ص |
18 | ضاد | zâd | ż | [z] | U+0636 | ـض | ـضـ | ضـ | ض |
19 | طا | tâ | t | [t] | U+0637 | ـط | ـطـ | طـ | ط |
20 | ظا | ẓâ | ẓ | [z] | U+0638 | ـظ | ـظـ | ظـ | ظ |
21 | عین | ʿayn | ʿ | [ʔ], [æ] | U+0639 | ـع | ـعـ | عـ | ع |
22 | غین | ġayn | ġ | [ɢ], [ɣ] | U+063A | ـغ | ـغـ | غـ | غ |
23 | ف | fe | f | [f] | U+0641 | ـف | ـفـ | فـ | ف |
24 | قاف | qâf | q | [q] | U+0642 | ـق | ـقـ | قـ | ق |
25 | کاف | kâf | k | [k] | U+06A9 | ـک | ـکـ | کـ | ک |
26 | گاف | gâf | g | [ɡ] | U+06AF | ـگ | ـگـ | گـ | گ |
27 | لام | lâm | l | [l] | U+0644 | ـل | ـلـ | لـ | ل |
28 | میم | mim | m | [m] | U+0645 | ـم | ـمـ | مـ | م |
29 | نون | nun | n | [n] | U+0646 | ـن | ـنـ | نـ | ن |
30 | واو | vâv | v / ū / ow / (w / aw / ō ในดารี) | [v], [uː], [o] (เฉพาะท้ายคำ), [ow] ([w], [aw], [oː] ในดารี) | U+0648 | ـو | و | ||
31 | ه | he (hā-ye havvaz, hā-ye do-češm) | h | [h], [e] (ท้ายคำ) | U+0647 | ـه | ـهـ | هـ | ه |
32 | ی | ye | y / ī / á / (ay / ē ในดารี) | [j], [i], [ɒː] ([aj] / [eː] ในดารี) | U+06CC | ـی | ـیـ | یـ | ی |
ในอดีตเคยมีอักษรพิเศษสำหรับเสียง /β/ ปัจจุบันไม่ใช้งานแล้ว เพราะเสียง /β/ เปลี่ยนไปเป็นเสียง /b/ แทน เช่น زڤان /zaβān/ > زبان /zæbɒn/ 'ภาษา'[6]
เสียง | รูปเดี่ยว | รูปท้าย | รูปกลาง | รูปหน้า | ชื่อ |
---|---|---|---|---|---|
/β/ | ڤ | ـڤ | ـڤـ | ڤـ | βe |
เครื่องหมายเสริมสัทอักษร
แก้อักษรเปอร์เซียนำเครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับมาดัดแปลง ประกอบด้วย แซแบร์ [æ] (ฟัตฮะฮ์ในภาษาอาหรับ), ซีร์ [e] (กัสเราะฮ์ในภาษาอาหรับ) และ พีช /ou̯/ หรือ [o] (ฎ็อมมะฮ์ในภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซียตะวันตกออกเสียงเป็น zamme), แทนวีน /æn/ และแชดเด (gemination) ส่วนเครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับอื่น ๆ มักพบในคำยืมภาษาอาหรับ
สระสั้น
แก้ภาษาเปอร์เซียนำสัญลักษณ์จากภาษาอาหรับสามในสี่แบบ ยกเว้นซุกูนที่ไม่นำมาใช้
สระสั้น | ชื่อ (ภาษาเปอร์เซีย) |
ชื่อ (ทับศัพท์) |
สัญลักษณ์เสียง | ออกเสียง |
---|---|---|---|---|
064E ◌َ |
زبر (فتحه) |
zebar/zibar | a | Ir. /æ/; D. /a/ |
0650 ◌ِ |
زیر (کسره) |
zer/zir | e | /e/ |
064F ◌ُ |
پیش (ضمّه) |
peš/piš | o | /o/ |
แทนวีน (nunation)
แก้แทนวีน | ชื่อ (ภาษาเปอร์เซีย) |
ชื่อ (ทับศัพท์) |
หมายเหตุ |
---|---|---|---|
064B َاً، ـاً، ءً |
تنوین نَصْبْ | Tanvine nasb | |
064D ٍِ |
تنوین جَرّ | Tanvine jarr | ไม่ใช้ในภาษาเปอร์เซีย
ใช้ในการศึกษาอัลกุรอาน |
064C ٌ |
تنوین رَفْعْ | Tanvine rafʔ |
แทชดีด
แก้สัญลักษณ์ | ชื่อ (ภาษาเปอร์เซีย) |
ชื่อ (ทับศัพท์) |
---|---|---|
0651 ّ |
تشدید | tašdid |
อักษรอื่น ๆ
แก้อักษรข้างล่างนี้ไม่ใช่อักษรจริง ๆ แต่เป็นอักษรอีกรูปแบบหนึ่งที่ดัดแปลงจากอักษรที่มีอยู่แล้ว
ชื่อ | ออกเสียง | สัทอักษรสากล | ยูนิโคด | ท้าย | กลาง | หน้า | เดี่ยว | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
alef madde | â | [ɒ] | U+0622 | ـآ | — | آ | آ | รูปท้ายมักไม่ค่อยพบและมักแทนที่ด้วย alef ทั่วไป |
he ye | -eye หรือ -eyeh | [eje] | U+06C0 | ـۀ | — | — | ۀ | ขึ้นอยู่กับภูมิภาคและสำเนียง บางพื้นที่ใช้รูปผสมสามตัว ـهای แทน |
lām alef | lā | [lɒ] | U+0644 (lām) กับ U+0627 (alef) | ـلا | — | — | لا | |
kašida | U+0640 | — | ـ | — | — | เป็นตัวกลางที่เชื่อมกับอักษรอื่น ๆ |
ตัวเลขจากอักษรอาหรับ
แก้อักษรเปอร์เซียใช้ตัวเลขอาหรับตะวันออก แต่รูปร่างหน่วย 'สี่' (۴), 'ห้า' (۵) และ 'หก' (۶) มีความแตกต่างจากอักษรอาหรับ และหน่วยทั้งหมดมีที่ตั้งรหัสในยูนิโคดต่างจากอักษรอาหรับ:[7]
ชื่อ | เปอร์เซีย | ยูนิโคด | อาหรับ | ยูนิโคด |
---|---|---|---|---|
0 | ۰ | U+06F0 | ٠ | U+0660 |
1 | ۱ | U+06F1 | ١ | U+0661 |
2 | ۲ | U+06F2 | ٢ | U+0662 |
3 | ۳ | U+06F3 | ٣ | U+0663 |
4 | ۴ | U+06F4 | ٤ | U+0664 |
5 | ۵ | U+06F5 | ٥ | U+0665 |
6 | ۶ | U+06F6 | ٦ | U+0666 |
7 | ۷ | U+06F7 | ٧ | U+0667 |
8 | ۸ | U+06F8 | ٨ | U+0668 |
9 | ۹ | U+06F9 | ٩ | U+0669 |
ye | ی | U+06CC | ي * | U+064A |
kāf | ک | U+06A9 | ك | U+0643 |
* อย่างไรก็ตาม ยังคงมีผู้ใช้งานรูปแบบภาษาอาหรับในลุ่มแม่น้ำไนล์
เทียบตัวเลข
แก้อาหรับตะวันตก | 0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
อาหรับตะวันออก[a] | ٠ | ١ | ٢ | ٣ | ٤ | ٥ | ٦ | ٧ | ٨ | ٩ | ١٠ |
เปอร์เซีย[b] | ۰ | ۱ | ۲ | ۳ | ۴ | ۵ | ۶ | ۷ | ۸ | ۹ | ۱۰ |
อูรดู[c] | ۰ | ۱ | ۲ | ۳ | ۴ | ۵ | ۶ | ۷ | ۸ | ۹ | ۱۰ |
ตัวเลขอับญัด | ا | ب | ج | د | ه | و | ز | ح | ط | ي |
- ↑ U+0660 ถึง U+0669
- ↑ U+06F0 ถึง U+06F9 เลข 4, 5 และ 6 มีความแตกต่างจากแบบอาหรับตะวันออก
- ↑ ยูนิโคดเหมือนกับเปอร์เซีย แต่ตั้งเซ็ตภาษาเป็นอูรดู ตัวเลข 4, 6 และ 7 มีความแตกต่างจากแบบเปอร์เซีย ในบางอุปกรณ์อาจแสดงรูปร่างคล้ายกับของเปอร์เซีย
อ้างอิง
แก้- ↑ Ira M. Lapidus (2012). Islamic Societies to the Nineteenth Century: A Global History. Cambridge University Press. pp. 256–. ISBN 978-0-521-51441-5.
- ↑ Ira M. Lapidus (2002). A History of Islamic Societies. Cambridge University Press. pp. 127–. ISBN 978-0-521-77933-3.
- ↑ Persian (Fārsī / فارسی), omniglot
- ↑ "ویژگىهاى خطّ فارسى". Academy of Persian Language and Literature. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-07. สืบค้นเมื่อ 2017-08-05.
- ↑ "??" (PDF). Persianacademy.ir. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 2015-09-05.
- ↑ "PERSIAN LANGUAGE i. Early New Persian". Iranica Online. สืบค้นเมื่อ 18 March 2019.
- ↑ "Unicode Characters in the 'Number, Decimal Digit' Category".
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Dastoore khat - The Official document in Persian by Academy of Persian Language and Literature