ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี (อังกฤษ: FIFA U-17 World Cup) เดิมก่อตั้งในชื่อ ฟุตบอลโลกเยาวชน ยู 16 (อังกฤษ: FIFA U-16 World Championship และใช้ชื่อว่า FIFA U-17 World Championship ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนชาย อายุไม่เกิน 17 ปี ดำเนินงานโดยฟีฟ่า และในปี 2551 ได้มีการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี เช่นกัน
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2528 (1985) |
---|---|
ภูมิภาค | นานาชาติ (ฟีฟ่า) |
จำนวนทีม | 24 |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ![]() |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ![]() |
เว็บไซต์ | U-17 World Cup |
![]() |
เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1985 และแข่งขันในทุก ๆ 2 ปี โดยเริ่มแรกผู้เข้าแข่งขันมีอายุไม่เกิน 16 ปี ต่อจากหลังเพิ่มขึ้นมาเป็น 17 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา โดยการแข่งขันครั้งล่าสุดจัดขึ้นที่ประเทศอินเดีย และทีมที่ชนะคือ ทีมอังกฤษ และการแข่งขันครั้งต่อไปจัดขึ้นที่ประเทศเปรูในปี ค.ศ. 2019
ไนจีเรีย เป็นชาติที่ชนะการแข่งขันมากที่สุด โดยชนะทีมละ 5 ครั้ง ส่วนทีมบราซิลชนะการแข่งขัน 3 ครั้ง และทีมกานาชนะการแข่งขัน 2 ครั้ง
สำหรับ ทีมชาติไทย นั้นเคยเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายจำนวน 2 ครั้งโดยครั้งแรกในปี ค.ศ. 1997 และครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1999
โครงสร้างแก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รอบคัดเลือกแก้ไข
ประเทศเจ้าภาพได้สิทธิ์เข้าแข่งขันโดยอัตโนมัติ. โดยทีมที่ผ่านในรอบคัดเลือกระดับทวีปทั้งหกโซน. เริ่มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1985,โดยทีมที่เข้าแข่งส่วนใหญ่มาจากโซนยุโรป และ อีกหนึ่งทีมจาดอเมริกาใต้คือ โบลิเวีย.
การแข่งขันแก้ไข
Summariesแก้ไข
- หมายเหตุ:
- aet - ช่วงต่อเวลาพิเศษ
- PSO- ชนะด้วยการยิงลูกโทษ
ผลการแข่งขันที่ผ่านมาแก้ไข
อันดับ | ทีม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่สาม | อันดับที่สี่ | Medals |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไนจีเรีย | 5 (1985, 1993, 2007, 2013, 2015) | 3 (1987, 2001, 2009) | 8 | ||
2 | บราซิล | 3 (1997, 1999, 2003) | 2 (1995, 2005) | 2 (1985, 2017) | 1 (2011) | 7 |
3 | กานา | 2 (1991, 1995) | 2 (1993, 1997) | 1 (1999) | 1 (2007) | 5 |
4 | เม็กซิโก | 2 (2005, 2011) | 1 (2013) | 1 (2015) | 3 | |
5 | สหภาพโซเวียต | 1 (1987) | 1 | |||
ซาอุดีอาระเบีย | 1 (1989) | 1 | ||||
ฝรั่งเศส | 1 (2001) | 1 | ||||
สวิตเซอร์แลนด์ | 1 (2009) | 1 | ||||
อังกฤษ | 1 (2017) | 1 | ||||
10 | สเปน | 4 (1991, 2003, 2007, 2017) | 2 (1997, 2009) | 6 | ||
11 | เยอรมนี | 1 (1985) | 2 (2007, 2011) | 1 (1997) | 3 | |
12 | มาลี | 1 (2015) | 1 (2017) | 1 | ||
13 | สกอตแลนด์ | 1 (1989) | 1 | |||
ออสเตรเลีย | 1 (1999) | 1 | ||||
อุรุกวัย | 1 (2011) | 1 | ||||
16 | อาร์เจนตินา | 3 (1991, 1995, 2003) | 2 (2001, 2013) | 3 | ||
17 | โกตดิวัวร์ | 1 (1987) | 1 | |||
โปรตุเกส | 1 (1989) | 1 | ||||
ชิลี | 1 (1993) | 1 | ||||
บูร์กินาฟาโซ | 1 (2001) | 1 | ||||
เนเธอร์แลนด์ | 1 (2005) | 1 | ||||
สวีเดน | 1 (2013) | 1 | ||||
เบลเยียม | 1 (2015) | 1 | ||||
24 | โคลอมเบีย | 2 (2003, 2009) | – | |||
25 | กินี | 1 (1985) | – | |||
อิตาลี | 1 (1987) | – | ||||
บาห์เรน | 1 (1989) | – | ||||
กาตาร์ | 1 (1991) | – | ||||
โปแลนด์ | 1 (1993) | – | ||||
โอมาน | 1 (1995) | – | ||||
สหรัฐ | 1 (1999) | – | ||||
ตุรกี | 1 (2005) | – |
ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันแก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |