พูดคุย:ภาษาไทย

ความคิดเห็นล่าสุดเมื่อ: 5 เดือนที่ผ่านมา โดย 2001:FB1:102:A287:8806:B90:CCCB:FD00 ในหัวข้อ คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 30 ตุลาคม 2566
ภาษาไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ภาษาไทย หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ภาษาไทย เป็นส่วนหนึ่งของ สารานุกรมภาษามีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมความรู้ที่เกี่ยวกับภาษาที่ใช้สื่อสารกันทั่วโลกรวมถึงอักษร ไวยากรณ์ การอ่าน การเขียน และภาษาพูดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า หากคุณต้องการมีส่วนร่วมในการสร้างโลกแห่งภาษา ลองแวะไปที่สถานีย่อย:ภาษา
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ภาษาไทย เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับการศึกษา ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ ภาษาไทย หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ภาษาไทย ได้รับการคัดเลือกจากสถานีย่อยภาษาให้เป็นบทความยอดเยี่ยม
สถานีย่อยภาษาได้คัดเลือกให้บทความนี้เป็นบทความยอดเยี่ยมประจำสถานีย่อย
ซึ่งหมายความว่าบทความนี้ มีเนื้อหาที่ดี เข้าใจง่าย สามารถใช้เป็นแหล่งอ้างอิงได้
ประจำเดือน: กุมภาพันธ์ 2550

เสียง /ร/ แก้

เสียง /ร/ บางตำราก็ใช้ [r] (trill) บางตำราก็ใช้ [ɾ] (flap) ซึ่งในความเป็นจริงพบว่ามีการออกเสียงทั้งสองอย่าง (เป็นเสียงแปรของ /r/) แต่สำหรับอักษร r ในภาษาอังกฤษนั้นออกเสียงเป็น [ɻ] จึงได้บอกกล่าวไว้กันสับสน --奥虎 ボンド 22:32, 20 มีนาคม 2558 (ICT)

หน่วยเสียงหลักของ rhotique ในทุกๆ ภาษา จะใช้ /r/ เสมอครับ Juidzi (คุย) 11:29, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

allophone of "r" in eng: UK: “[ɹ]” US: “[ɻ]”

Juidzi (คุย) 11:30, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

เสียง เออะ-เออ แก้

เสียง เออะ-เออ ตามหนังสืออ้างอิงสัทศาสตร์ฯ ใช้สัทอักษร ɤ และ ɤː ตามลำดับ ไม่ใช่ ə และ əː (มันเป็นคนละเสียงกันด้วย)--อ็อกตร้า บอนด์ 07:55, 5 ธันวาคม 2006 (UTC)

ตัว schwa ก็ไม่ใช่เสียง เออะ-เออ โดยตรงนะครับ แต่ถ้าเทียบเสียงกลับมามันจะใกล้กับ เออะ-เออ กระมัง --Manop | พูดคุย -   23:24, 7 มิถุนายน 2007 (UTC)

เ-อะ และ เ-อ ไม่แนะนำให้ใช้ “[ə]” เพราะตัวนี้คือ เสียงสระพิเศษในระบบสัทศาสตร์ครับ ซึ่งจะลิ้งค์กับเสียง schwa ครับ ผมจึงให้ค่า allophone เป็น “[ɜ̝]”, “[ɤ̞]”, “[œ]” เป็นต้น ดังนั้น ผมจะไม่อ้างอิงเสียง “[ə]” อย่างเด็ดขาดครับ Juidzi (คุย) 11:48, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

ภาษาไทย แก้

เป็น ภาษาไทย จะพูด ใน ประเทศไทย?

มากกว่าในประเทศไทยครับ แต่ผมไม่ทราบว่าคุณหมายความว่าอะไร / Yes, as well as many countries around the world. But I don't know what you are wondering. --Horus | พูดคุย 22:08, 6 มีนาคม 2553 (ICT)

สระ อำ แก้

สระอำ ออกเสียง ɑːm ɑm ครับ ไม่ใช่ /a/ อ้างอิงจาก http://www.omniglot.com/writing/thai.htm และเวลาออกเสียง ลิ้นจะค่อนไปข้างหลังมากกว่า เสียง อะ/อา ปกติ ครับ

ปกติสระอะ-อา จะเป็นหน่วยเสียง (phoneme) เดียวกันหมด เพราะโดยพื้นฐาน อำ มาจาก อะ+ม เสียงอื่น ๆ ที่ปรากฏถือว่าเป็นเสียงแปร (allophone) ดังนั้นการระบุ /a/ จึงถูกแล้ว เพราะทับ หมายถึงหน่วยเสียง ถ้าจะลงรายละเอียดเสียงสระเปลี่ยนแปลง ต้องใช้วงเล็บเหลี่ยม หมายถึงเสียงแปร --浓宝努 23:06, 12 เมษายน 2555 (ICT)

หรือว่ามันคือเสียง /ä/ ครับ

ภาษาไทย ไม่มีเสียง “[ɑ]” ครับ แต่ค่า allophone อยู่ระหว่าง “[ä]” กับ “[ɐ]” ครับ Juidzi (คุย) 11:20, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

เสียง -ะ และ -า ส่วนใหญ่เหมือนเสียงในภาษาสันสกฤตครับ (ค่าสระ -ะ และ -า “[ɐ]”) แต่ค่า phoneme คือ “/a/” ครับ Juidzi (คุย) 11:23, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

ลองฟังเสียง “[ɑ]” ในลิ้งค์นี้นะครับ https://en.m.wikipedia.org/wiki/Open_back_unrounded_vowel Juidzi (คุย) 11:25, 17 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

สำเนียงตากใบ แก้

สำเนียงตากใบเป็นสำเนียงของภาษาปักษ์ใต้ (sou) ซึ่งในความเป็นจริงไม่ใช่ภาษาไทย (th) พูดง่าย ๆ ก็คือคุยกันไม่รู้เรื่อง ถึงแม้ทางการจะเรียก ภาษาไทยถิ่นใต้ ก็ตาม เพราะนั่นเป็นผลมาจากนโยบายชาตินิยม --奥虎 ボンド 22:10, 20 มีนาคม 2558 (ICT)

เตือนเรื่อง Phoneme และ Allophone แก้

Phoneme = หน่วยเสียงหลัก Allophone = หน่วยเสียงย่อย

/rɯ/ ได้ แต่ระวัง /ri/, /rɤ:/ ครับ เพราะนั่นคือ หน่วยเสียงย่อย Juidzi (คุย) 22:29, 16 เมษายน 2563 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 แก้

"ขอเพิ่มเนื้อหาสำหรับคำควบกล้ำให้เพิ่มคำอธิบายว่า"

แต่ในปัจจุบันนี้มีเสียงควบกล้ำมากมายนอกจาก กร- ขร- คร- ตร- ปร- พร- กล- ขล- คล- ปล- พล- กว- ขว- คว- ซึ่งเป็นควบกล้ำไทยแท้แล้ว ยังมีควบกล้ำที่เพิ่มเติมเข้ามาอีกมากมายโดยเฉพาะภาษาต่างประเทศที่เป็นชื่อดาราหรือบุคคลสำคัญของโลก อาทิ ควบกล้ำด้วย ย และ ว เมื่อพิมพ์หรือเขียนในรูปของอักษรไทย เช่น อีฮวอน อ่านว่า อี-ฮฺวอน ไม่ใช่อ่านว่า อี-หะ-วอน คย็องกี อ่านว่า คฺย็อง-กี ไม่ใช่อ่านว่า ขะ-ย็อง-กี แต่เนื่องด้วยเสียงควบกล้ำ ย ไม่มีในภาษาไทย และ ว บางตัวไม่มีในภาษาไทย จึงทำให้คนไทยเราอ่านออกเสียงในรูปแบบสระอะแบบกึ่งเสียงตามแบบภาษาเขมร ตัวอย่างของคำในภาษาเขมร เช่น จมูก สบาย เป็นตัน [1] Taomeja (คุย) 22:46, 13 กรกฎาคม 2564 (+07)ตอบกลับ

@Taomeja: หน้าบทความไม่ได้มีการกึ่งป้องกัน คุณสามารถเพิ่มเนื้อหาได้เลย แต่ที่สำคัญโปรดระบุแหล่งอ้างอิงที่คุณใช้มาด้วยนะครับ --Geonuch (คุย) 07:57, 14 กรกฎาคม 2564 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 19 กันยายน 2566 แก้

27.55.88.244 07:26, 19 กันยายน 2566 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 25 กันยายน 2566 แก้

2001:44C8:460C:B79F:7330:856F:8D54:F2AC 13:52, 25 กันยายน 2566 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 26 ตุลาคม 2566 แก้

เจ้าขุนทองน้อย (คุย) 16:50, 26 ตุลาคม 2566 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 30 ตุลาคม 2566 แก้

2001:FB1:102:A287:8806:B90:CCCB:FD00 14:14, 30 ตุลาคม 2566 (+07)ตอบกลับ

  1. https://www.matichonweekly.com/column/article_58930
กลับไปที่หน้า "ภาษาไทย"