ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย

ฟุตบอลทีมชาติอาร์มีเนีย (อาร์มีเนีย: Հայաստանի ֆուտբոլի ազգային հավաքական, Hayastani futboli azgayin havak'akan) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอาร์มีเนีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลอาร์มีเนียซึ่งบริหารฟุตบอลในประเทศอาร์มีเนีย ทีมชาติได้ลงแข่งขันครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1992 หลังจากที่ประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียต และได้เข้าร่วมแข่งขันรอบคัดเลือกของรายการแข่งขันใหญ่ แต่ก็ไม่เคยผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกหรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปเลย[4] ผลงานในรอบคัดเลือกที่ดีที่สุดคือจบอันดับที่สามของกลุ่ม บี ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 รอบคัดเลือก[5]

อาร์มีเนีย
ฉายาԼեռնականներ (Lerrnakanner, ชาวเขา)
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลอาร์มีเนีย
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนโฆอากิน กาปาร์โรส
ติดทีมชาติสูงสุดซาร์กิส ฮอฟแซพียัน (132)[1]
ทำประตูสูงสุดแฮนริค มะคีทาเรียน (32)
สนามเหย้าสนามกีฬาสาธารณรัฐวัซแกน ซาร์กซียัน[2]
สนามกีฬาเฮอรัซดัน
รหัสฟีฟ่าARM
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 95 ลดลง 1 (4 เมษายน 2024)[3]
อันดับสูงสุด30 (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014)
อันดับต่ำสุด159 (กรกฎาคม ค.ศ. 1994)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 0–0 มอลโดวา ธงชาติมอลโดวา
(เยเรวาน อาร์มีเนีย; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1992)
ชนะสูงสุด
ธงชาติอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 7–1 กัวเตมาลา ธงชาติประเทศกัวเตมาลา
(ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 2016)
แพ้สูงสุด
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 9–0 อาร์มีเนีย ธงชาติอาร์มีเนีย
(ออสโล ประเทศนอร์เวย์; 29 มีนาคม ค.ศ. 2022)

ทีมชาติมีสนามซ้อมอยู่ที่เขตอาวันทางตอนเหนือของเยเรวาน และมีสนามเหย้าที่ชื่อว่าสนามกีฬาสาธารณรัฐ

อ้างอิง แก้

  1. "Armenia national football team". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 April 2015. สืบค้นเมื่อ 14 June 2016.
  2. "Home". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2016. สืบค้นเมื่อ 14 June 2016.
  3. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.
  4. "Armenia". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-23. สืบค้นเมื่อ 16 April 2013.
  5. Ogden, Mark (11 October 2011). "Republic of Ireland 2 Armenia 1: match report". London: The Telegraph. สืบค้นเมื่อ 16 April 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้