ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายอาญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
อธิบายโดยสังเขป
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{issues|ปรับภาษา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
 
'''กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชนซึ่งบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษรถึงการกระทำหรือและการงดเว้นกระทำและต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ 5 สถานอันได้แก่ประหารชีวิต , จำคุก , กักขัง , ปรับ , ริบทรัพย์สินรวมทั้งอาญาไม่มีผลย้อนหลังเป็นโทษที่หนักกว่าและกฎหมายอาญาต้องตีความอย่างเคร่งครัดสามารถ'''แยกองค์ประกอบได้ดังนี้
'''กฎหมายอาญา''' เป็นประชุมกฎหมายที่สัมพันธ์กับ[[อาชญากรรม]] โดยห้ามความประพฤติที่รัฐมองว่าคุกคาม หรือเป็นภัยต่อทรัพย์สิน สุขภาพ ความปลอดภัยและศีลธรรมของประชาชน กฎหมายอาญาส่วนใหญ่ตั้งขึ้นเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร ซึ่งตราขึ้นโดยสภานิติบัญญัติ กฎหมายอาญามีบทลงโทษและการทำให้กลับคืนดีซึ่งประชาชนผู้ฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าว
 
* กฎหมายที่บัญญัติถึงความผิด ได้แก่ - การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งกฎหมายบัญญัติห้ามไว้และการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่กฎหมายบัญญัติให้มีหน้าที่ต้องกระทำ โดยถือว่าขัดกับประโยชน์ชุมชน เช่นความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา การปลอมแปลงเงินตรา ฯลฯ จะเป็นกฎหมายอาญาต่อเมื่อกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด เช่น ความผิดว่าด้วยลักทรัพย์เป็นความผิดอาญาเพราะมีการบัญญัติว่าเป็นความผิดตามมาตรา 334 “ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำความผิดฐานลักทรัพย์”
กฎหมายอาญาต่างจาก[[กฎหมายแพ่ง]] ซึ่งเน้นการระงับข้อพิพาทและการใช้ค่าสินไหมทดแทน มากกว่าการลงโทษหรือการทำให้กลับคืนดี
* โทษที่นำมาลงแก่ผู้กระทำความผิดต้องเป็นโทษที่กฎหมายบัญญัติตามมาตรา 18 คือริบทรัพย์สิน ปรับ , กักขัง , จำคุก , ประหารชีวิต
 
- ลักษณะของกฎหมายอาญา
 
* เป็นกฎหมายมหาชนบัญญัติถึงความเกี่ยวพันระหว่างเอกชนกับรัฐ แม้การกระทำบางอย่างอาจทำต่อเอกชนโดยตรง แต่ก็ถือว่าเสียหายต่อส่วนรวมในลักษณะที่รัฐต้องเข้ามาดำเนินป้องกันและปราบปรามได้เองโดยไม่ต้องมีผู้ใดร้องทุกข์กล่าวโทษเว้นแต่เป็นความผิดอันยอมความได้
 
* ความผิดทางอาญาอาจแบ่งได้ดังนี้ - 1) แบ่งแยกประเภทความผิดในแง่การกระทำ - 2) แบ่งแยกความผิดที่มีผลปรากฎและความผิดที่ไม่ต้องมีผลปรากฎ -3)แบ่งแยกความผิดธรรมดากับความผิด -4)แบ่งแยกความผิดในแง่เจตนา
* โทษอาญา ต้องเป็นโทษที่กฎหมายอาญาบัญญัติไว้ตามมาตรา 18 มี 5 สถานอันได้แก่ ริบทรัพย์สิน ปรับ กักขัง จำคุก ประหารชีวิต
 
* กฎหมายอาญามีผลในราชอาณาจักร เว้นแต่เป็นการกระทำนอกราชอาณาจักร ตามกฎหมายอาญามาตรา 7-9 <ref>กฎหมายอาญา 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปี 2551</ref>
 
== วัตถุประสงค์ ==