ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังงานในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:17, 19 กุมภาพันธ์ 2560

พลังงานในประเทศไทย กล่าวถึงการใช้พลังงาน และการผลิตไฟฟ้า การนำเข้าและส่งออกไฟฟ้าของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2556 กระทรวงพลังงานได้กล่าวว่าประเทศไทยมีการใช้พลังงาน 75.2 Mtoe และเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 2.6[2] โดยทางบริษัทบริติชปิโตรเลียมได้ประมาณการใช้พลังงานของประเทศไทยที่ 115.6 Mtoe ในปีเดียวกัน[1] ในขณะเดียวกันมีการประมาณการที่กล่าวถึงในเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊กว่าในปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีกำลังการผลิตไฟฟ้าที่ 164,000 กิโลวัตต์-ชั่วโมง โดยมีการนำเข้าไฟฟ้า 12,000 กิโลวัตต์-ชั่วโมง และส่งออกไฟฟ้า 1,600 กิโลวัตต์-ชั่วโมง[3]

การใช้พลังงานในประเทศไทย พ.ศ. 2556[1]

ประเทศไทยสามารถผลิตน้ำมันได้ประมาณหนึ่งในสามของน้ำมันที่มีการใช้ในประเทศและเป็นประเทศที่มีการนำเข้าน้ำมันเป็นอันดับสองของประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยยังเป็นผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติเป็นจำนวนมาก และมีถ่านหินเป็นอันดับที่สองของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้รองจากประเทศอินโดนีเซีย

ไฟฟ้า

ร้อยละ 90 ของพลังงานที่ใช้ในเมืองไทยผลิตในรูปแบบดั้งเดิม จากรูปแบบของการใช้พลังงานเชื้อเพลิงเช่น น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ และถ่านหิน โดยส่วนที่เหลือเป็นพลังงานจากพลังงานทางเลือก อาทิ มวลชีวภาพ แก๊สชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ฯลฯ[4]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 British Petroleum. "Statistical Review of World Energy 2014". BP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-12. สืบค้นเมื่อ 2014-09-11. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Energy in Thailand, Facts & Figures 2013" (PDF). Dept of Alternative Energy Development & Efficiency, Ministry of Energy. สืบค้นเมื่อ 5 Sep 2014.
  3. CIA World Factbook. "The World Factbook : Thailand". Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 2016-02-14.
  4. "International Index of Energy Security Risk" (PDF). Institute for 21st Century Energy. Institute for 21st Century Energy. 2013. สืบค้นเมื่อ 14 Sep 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น