พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง)

นักการเมืองชาวไทย

อำมาตย์เอก พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง) ได้รับพระราชทานนามสกุล บุญ-หลง (Boon-Long) ระหว่างดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

พระยาประมวญวิชาพูล
(วงศ์ บุญ-หลง)
รัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 – 1 เมษายน พ.ศ. 2476
นายกรัฐมนตรีพระยามโนปกรณนิติธาดา
กรรมการราษฎร
ดำรงตำแหน่ง
28 มิถุนายน – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
ประธานพระยามโนปกรณนิติธาดา
ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2473 – พ.ศ. 2475
ก่อนหน้าหลวงแจ่มวิชาสอน (แจ่ม นิยมเหตุ)
ถัดไปนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ตำแหน่ง

แก้

รัฐมนตรี

  • คณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน มีพระยาประมวญวิชาพูล รวมอยู่ด้วย
  • คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 วันที่ 10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476 พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ - หลง) เป็นรัฐมนตรี พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 10 ธันวาคม 2475 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี

อธิบดีกรมพลศึกษา

  • เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 อำมาตย์เอกพระยาประมวลวิชาพูล (วงษ์ บุญ-หลง) รักษาราชการในตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา จนกระทั่ง วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2477

อธิบดีกรมสามัญศึกษา

ผู้อำนวยการโรงเรียน

ผลงาน

แก้
  • ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนสตรีบ้านทวาย เป็นโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ระหว่างดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสามัญศึกษา
  • ได้ทำแบบสอนอ่านเรื่องความรู้รอบตัวเบื้องต้นเล่ม1 สำหรับชั้นประถมศึกษา ของ พระยาประมวญวิชาพูล (วงษ์ บุญ-หลง) กับ พระยาวิรุฬห์พิทยาพรรณ (สวน พุกกะเวส)


เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง พระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๔๖ ง หน้า ๒๕๖๗, ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๖

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
ก่อนหน้า พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง) ถัดไป
หลวงแจ่มวิชาสอน    
ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร คนที่ 10
(พ.ศ. 2473พ.ศ. 2475)
  นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา