ตำบลหลุมเข้า

ตำบลในอำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี ประเทศไทย

หลุมเข้า เป็นตำบลในอำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี

ตำบลหลุมเข้า
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันTambon Lum Khao
ประเทศไทย
จังหวัดอุทัยธานี
อำเภอหนองขาหย่าง
พื้นที่
 • ทั้งหมด46.43 ตร.กม. (17.93 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)[1]
 • ทั้งหมด2,469 คน
 • ความหนาแน่น53.17 คน/ตร.กม. (137.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 61130
รหัสภูมิศาสตร์610508
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
องค์การบริหารส่วนตำบลหลุมเข้า
อบต.หลุมเข้าตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี
อบต.หลุมเข้า
อบต.หลุมเข้า
ที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมเข้า
พิกัด: 15°18′45.8″N 100°01′03.2″E / 15.312722°N 100.017556°E / 15.312722; 100.017556
ประเทศ ไทย
จังหวัดอุทัยธานี
อำเภอหนองขาหย่าง
พื้นที่
 • ทั้งหมด46.43 ตร.กม. (17.93 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด2,469 คน
 • ความหนาแน่น53.17 คน/ตร.กม. (137.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.06610506
ที่อยู่ที่ทำการเลขที่ 147 หมู่ที่ 3 ตำบลหลุมเข้า อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี 61130
เว็บไซต์www.lumkao.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขต

แก้

ตำบลหลุมเข้ามีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติ

แก้

หลุมเข้าเป็นตำบลในอำเภอหนองพลวง จังหวัดอุทัยธานี ตั้งเป็นตำบลตั้งแต่ พ.ศ. 2443[2] เล่ากันว่าเมื่อปลายปี พ.ศ. 2110 พม่าได้ยกทัพผ่านเข้ามาในเขตจังหวัดอุทัยธานี ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามช่องทางที่พม่ายกทัพผ่าน จะทิ้งข้าวของเพื่อหนีเอาชีวิตรอด และชุดหลุมฝังไว้ รวมทั้งข้าวเปลือก ข้าวสาร เพื่อจะกลับมาเอาหลังบ้านเมืองสงบ เนื่องจากมีการขุดหลุมฝังข้าวไว้มาก ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณดังกล่าวว่า "หลุมเข้า" คำว่า เข้า ในยุคนั้นหมายความถึงคำว่า ข้าว ด้วย

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

การปกครองส่วนภูมิภาค

แก้

พื้นที่ตำบลหลุมเข้าประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งสิ้นจำนวน 7 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 2,469 คน แบ่งเป็นชาย 1,177 คน หญิง 1,292 คน (เดือนธันวาคม 2566)[3] เป็นตำบลที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดอันดับ 2 จาก 9 ตำบลในอำเภอหนองขาหย่าง

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้คงเดิมเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน

* ปี พ.ศ. 2558 มีการรวมผู้ที่ไม่ได้สัญชาติไทยในทะเบียนราษฎร ส่งผลให้ข้อมูลจำนวนประชากรปีดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก

หมู่บ้าน พ.ศ. 2566[4] พ.ศ. 2565[5] พ.ศ. 2564[6] พ.ศ. 2563[7] พ.ศ. 2562[8] พ.ศ. 2561[9] พ.ศ. 2560[10]
ดอนเชียงราย 893 898 908 928 935 944 950
หนองกาหลง 323 329 330 325 327 331 330
เนินพยอม 308 308 308 313 315 324 319
ปากดง 267 273 277 278 278 274 271
บึงทับแต้ 233 236 233 226 231 231 223
เนินคล้อ 233 236 228 228 224 220 218
หลุมเข้า 212 221 235 226 225 224 228
รวม 2,469 2,501 2,519 2,524 2,535 2,548 2,539

การปกครองส่วนท้องถิ่น

แก้

ปัจจุบันตำบลหลุมเข้าทั้งตำบลอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมเข้า ซึ่งเดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลหลุมเข้า ในปี พ.ศ. 2517[11] ต่อมาปี พ.ศ. 2541 สภาตำบลหลุมเข้ามี 7 หมู่บ้าน พื้นที่ 46.43 ตารางกิโลเมตร ประชากร 2,544 คน และ 624 ครัวเรือน[12] ปี พ.ศ. 2542 กระทรวงมหาดไทยจึงพิจารณาให้สภาตำบลหลุมเข้าอยู่ในเงื่อนไขที่จะจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลได้ จึงได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลหลุมเข้า[13]

อ้างอิง

แก้
  1. ประชากรในเขตท้องถิ่นตำบลหลุมเข้า อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี เดือนธันวาคม พ.ศ. 2566 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
  2. "ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ ในท้องที่มณฑลนครสวรรค์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 38 (0 ก): 576–583. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
  4. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [2] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
  5. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [3] 2564. สืบค้น 18 มีนาคม 2564.
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [4] 2563. สืบค้น 10 มกราคม 2563.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/036/T_0032.PDF 2562. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2562.
  8. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/041/22.PDF 2561. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2561.
  9. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat59.htm 2560. สืบค้น 3 มีนาคม 2560.
  10. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.
  11. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งสภาตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 91 (87 ง): (ฉบับพิเศษ) 1–45. วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
  12. ประชากรรายตำบลในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2541 (เขตตำบลหลุมเข้า อำเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทัยธานี) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2567
  13. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 82 ง): 3–38. วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542