ดอก เป็นโครงสร้างสืบพันธุ์ของพืชดอก (พืชในหมวด Magnoliophyta)Flowering plants หรือ Angiosperms หน้าที่ทางชีววิทยาของดอก คือ เพื่อออกผลการสืบพันธุ์ ปกติโดยให้กลไกสำหรับการผสมระหว่างสเปิร์มกับไข่ ดอกอาจอำนวยให้การผสมข้ามดอก (outcrossing) หรือให้เกิดการผสมในดอกเดียวกัน (selfing) ก็ได้ บางดอกผลิตส่วนแพร่พันธุ์โดยไม่มีการปฏิสนธิ (การเกิดผลลม) ดอกมีอับสปอร์และเป็นที่ซึ่งแกมีโทไฟต์เจริญ ดอกให้ผลและเมล็ด หลายดอกวิวัฒนาให้ดึงดูดสัตว์ เพื่อที่จะให้สัตว์เหล่านั้นเป็นพาหะส่งผ่านเรณู

โปสเตอร์แสดงภาพดอกไม้ต่าง ๆ สิบสองชนิด
ดอกบัวที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ประเทศไทย
กล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติ
Pink Flower from the road side to Phu Langka National Park, Thailand
Pink Flower from the road side to Phu Langka National Park, Thailand

นอกเหนือไปจากการอำนวยการสืบพันธุ์ของพืชดอกแล้ว มนุษย์ยังชื่นชมและใช้เพื่อตกแต่งสิ่งแวดล้อมให้สวยงาม และยังเป็นวัตถุแห่งความรัก พิธีกรรม ศาสนาแพทยศาสตร์และเป็นแหล่งอาหาร

ส่วนประกอบ

แก้
 
ส่วนประกอบพื้นฐานของดอกไม้

ดอกส่วนประกอบหลักอยู่ 4 อย่าง

  1. กลีบดอก
  2. กลีบเลี้ยง
  3. เกสรเพศผู้
  4. เกสรเพศเมีย


รายชื่อพรรณไม้แยกเป็นกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่

แก้

จำแนกตามวงศ์ (family) และเรียงลำดับตามชื่อวิทยาศาสตร์[1]

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
  • AlismataceaeSagittaria sp. เต่าเกียด
  • AmaryllidaceaeHymenocallis littoralis Salisb. พลับพลึงตีนเป็ด

Phaedranassa sp. ว่านมหาลาภ Zephyranthes sp. บัวจีน

Anthurium sp. หน้าวัว Pistia stratiotes L. จอก

Canna sp. พุทธรักษา

Gladiolus dalenii Van Geel แกลดิโอลัส

Musa laterita Cheeseman กล้วยบัวสีแสด

Dendrobium sp. หวาย

Eichhornia crassipes (C. Mart.) Solms ผักตบชวา

Globba sp. ข่าลิง

พืชใบเลี้ยงคู่

Ruellia tuberosa L. ต้อยติ่ง

Gomphrena globosa L. บานไม่รู้โรย

Annona squamosa L. น้อยหน่า Artabotrys siamensis Miq. การเวก Desmos chinensis Lour. สายหยุด

Plumeria spp. ลั่นทม Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. โมก

Calotropis gigantea (L.) Dryander ex W.T. Aiton รัก Telosma minor Craib สลิด ขจร

Helianthus annuus L. ทานตะวัน Vernonia cinerea (L.) Less หมอน้อย

Crescentia alata H.B.K. ตีนเป็ดฝรั่ง

Durio zibethinus Merr. ทุเรียน

Brassica chinensis L. ผักกวางตุ้ง

Pereskia blea (Kunth) DC. กุหลาบพุกาม Schlumbergera truncata (Haw.) Moran เท้าหลังก้ามปู

Bauhinia purpurea L. ชงโค Bauhinia tomentosa L. โยทะกา Caesalpinia pulcherrima (L.) Sw. หางนกยูงไทย Delonix regia L. หางนกยูงฝรั่ง Tamarindus indica L. มะขาม

Calophyllum inophyllum L. กระทิง Garcinia mangostana L. มังคุด

Combretum fruticosa (Loefl.) Stuntz พู่อมร

Dillenia sp. ส้าน

Euphorbia milii Des Moul โป๊ยเซียน Jatropha integerrima Jacq. ปัตตาเวีย

Butea monosperma (Lam.) Taub. ทองกวาว

Gmelina sp. ช้องแมว

Lagerstroemia indica L. ยี่เข่ง Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. อินทนิลน้ำ

Michelia alba DC. จำปี

Hibiscus rosa-sinensis L. ชบา

Samanea saman (Jacq.) Merr. จามจุรี

Eugenia sp. ชมพู่

Nelumbo nucifera Gaertn. บัวหลวง

Bougainvillea sp. เฟื่องฟ้า

Nymphaea lotus L. บัวสาย

Averrhoa corambola L. มะเฟือง

Peperomia pellucida (L.) Humb. ผักกะสัง

Rosa sp. กุหลาบ

Hamelia patens Jacq. ประทัดไต้หวัน Ixora finlaysoniana Wall. ex G. Don เข็มขาว Mussaenda spp. ดอนย่า ใบต่างดอก

Murraya paniculata (L.) Jack แก้ว

Lansium domesticum Correa ลางสาด

Capsicum frutescens L. var. frutescens พริกขี้หนู

Muntingia calabura L. ตะขบ

อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  1. http://www.sc.chula.ac.th/thaiplants/flowers/index.htm