ซิ่นลายหงส์ เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวพีเรียด ดราม่า จากบทประพันธ์ของ ณไทย ภัทรกวีกานท์ ผลิตโดย บริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด โดยผู้จัด เมย์ เฟื่องอารมย์ เขียนบทโทรทัศน์โดย ปริศนา และ ณไทย ภัทรกวีกานท์ กำกับการแสดงโดย อดุลย์ บุญบุตร นำแสดงโดย สุธีวัน ทวีสิน , นิธิดล ป้อมสุวรรณ , กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ , ชลฤดี อมรลักษณ์ , วันชนะ สวัสดี , นุสบา ปุณณกันต์ , ภัครมัย โปตระนันท์ , พีท ทองเจือ , กฤตฎ์ อมรชัยฤกษ์ , พีรกร โพธิ์ประเสริฐ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย ออกอากาศทุกคืน วันจันทร์ - วันพฤหัสบดี เวลา 18.45 - 19.45 น. และออกอากาศซ้ำเช้ามืดทุกวันอังคารถึงวันเสาร์ เวลา 00.25 - 01.25 น. เริ่มออกอากาศตอนแรกวันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ต่อจากละคร สาปกระสือ

ซิ่นลายหงส์
บทประพันธ์ณไทย ภัทรกวีกานท์
บทละครโทรทัศน์ปริศนา - ณไทย ภัทรกวีกานท์
นักแสดงสุธีวัน ทวีสิน
นิธิดล ป้อมสุวรรณ
กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์
ชลฤดี อมรลักษณ์
วันชนะ สวัสดี
นุสบา ปุณณกันต์
ภัครมัย โปตระนันท์
พีท ทองเจือ
กฤตฎ์ อมรชัยฤกษ์
พีรกร โพธิ์ประเสริฐ
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดต้องมีคนชดใช้ - ธัญญ่า อาร์สยาม
ดนตรีแก่นเรื่องปิดต้องมีคนชดใช้ - ธัญญ่า อาร์สยาม
จำนวนตอน30 ตอน
การผลิต
ควบคุมงานสร้างเมย์ เฟื่องอารมย์
ความยาวตอน60 นาที
บริษัทผู้ผลิตบริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด
ออกอากาศ
สถานีโทรทัศน์สถานีโทรทัศน์ช่อง 8
ไลน์ทีวี
ออกอากาศ13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 –
24 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ละครโทรทัศน์เรื่อง ซิ่นลายหงส์ นำเสนอดราม่าร้อนแรงที่สะท้อนความเชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรมและการเวียนว่ายตายเกิดผ่านวัฒนธรรมอันงามวิไลของชาวอีสาน โดยมีผ้าซิ่นลายหงส์เป็นสื่อสัญลักษณ์สำคัญของเรื่อง ซึ่งผ้าซิ่นนั้นเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความเป็นสตรีและวัฒนธรรมอีสาน (รวมถึงวัฒนธรรมลาว) "ซิ่นลายหงส์" พ้องเสียงกับคำว่า "สิ้นลายหงส์" ซึ่งมีนัยทางนามธรรมที่สะท้อนถึง กฎไตรลักษณ์ และ โลกธรรม 8 เนื้อหาละครมีการนำเสนอถึงสัจธรรมในชีวิตมนุษย์ ร้อยเรียงเรื่องราวการพุ่งทะยานขึ้นสู่จุดสูงสุดและพลิกผันดิ่งสู่จุดต่ำสุดในชีวิตของสตรีที่ถูกขนานสมญานามว่าเป็น "นางพญาหงส์"

นักแสดง

แก้
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2561
สถานีออกอากาศ ช่อง 8
ผู้สร้าง บริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด
บทโทรทัศน์ ปริศนา และ ณ ไทย ภัทรกวีกานท์
ผู้กำกับการแสดง อดุลย์ บุญบุตร
นักแสดงหลัก
พระขัตติยะรามังกูร (ปัจจุบัน)/สาธุบาทเจ้ารามังกูร (อดีต) พีท ทองเจือ
พ่อแพทย์พุทไธ (ปัจจุบัน)/อัญญาหลวงพุทธางกูร (อดีต) วันชนะ สวัสดี
ญาแม่คำอ่อน (ปัจจุบัน)/อัญญานางมหาเทวีเจ้าคำอ่อน (อดีต) นุสบา ปุณณกันต์
แม่งอ,ญาแม่ทองจันทร์ (ปัจจุบัน)/อัญญานางสนมทองจันทร์ (อดีต) ภัครมัย โปตระนันท์
แม่สอาง (ปัจจุบัน)/อัญญานางหูกคำ (อดีต) สุธีวัน ทวีสิน
พ่อโซ่ทอง (ปัจจุบัน)/อัญญาเจ้าราชบุตรศรีโซ่ทอง (อดีต) นิธิดล ป้อมสุวรรณ
แม่สะออน (ปัจจุบัน)/เจ้านางสีออน (อดีต) ชลฤดี อมรลักษณ์
แม่สะอาด (ปัจจุบัน)/อัญญานางศรีสะอาด (อดีต) กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์
พันตำรวจตรีหลวงอากาศกำจร (ปัจจุบัน)/ท้าวเพียคำจัน (อดีต) กฤตฎ์ อมรชัยฤกษ์
เจ้าศรีธารา (แก้ว) พีรกร โพธิ์ประเสริฐ
นักแสดงสมทบ
แม่เจ้าปทุมรัตน์ (แม่บัว) อาภาศิริ นิติพน
นางสาย (ปัจจุบัน)/นางไอ่ (อดีต) นาตยา จันทร์รุ่ง
แม่ไฉไล มาลินี โคทส์
เจ้านางสายวารี รัตนาภรณ์ กลิ่นกุหลาบหิรัญ
แม่ครูคำอุ่ม ปริศนา วงศ์ศิริ
พ่อครูสมิงพันดง (ปัจจุบัน)/สมีพราหมณ์แดง (อดีต) ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล
นางสีแหล่ ดวงฤดี บุญบำรุง (ลูลู่ อาร์สยาม)
นางเสา ขวัญนภา เรืองศรี (ลาล่า อาร์สยาม)
นางเพ็ง รุ้งลาวัลย์ โทนะหงษา (หนูหิ่น)
นางคำศรี อุ่นเรือน ราโชติ
นางผิน กรอร ญาณินรุจนา
ดาบคำแสง
นางเภา กัญจน์อมล เคล้าจิตพูลสุข
นางเพิง ฑรัญภัค เศรษฐีธร
นายประทิน
นางทองมี กุสุมา ตันสกุล
นักแสดงรับเชิญ
แม่เจ้าดาราไล ทิดาลัด วงสิหลิ
ญาครู (หลวงพ่อ) บดินทร์ หมู่หมื่นศรี
พ่อแพทย์จันทกุมาร ธนภัทร สีงามรัตน์
พ่อแพทย์พุทไธ (วัยหนุ่ม) พสุ สิงห์อุสาหะ
ญาแม่ทองจันทร์ (วัยสาว) ธันยพร คงแจ่ม
ญาแม่คำอ่อน (วัยสาว) เขมนาฏ ธจิรมงคล
นางสาย (วัยสาว) มิณทร์ลดา เจริญทวีรัตน์
คุณหญิงสวีวิไลวรรณ นภัสร์นันท์ บรรเจิดศิลป์
กำธร ด.ช.
อัญญานางหูกคำ (วัยเด็ก) ด.ญ.ชลิตา ทวีธรรมวัฒนะ
อัญญานางศรีสะอาด (วัยเด็ก) ด.ญ.ธัญวรัชย์ ชมายกุล
เจ้าอังกูร ด.ช.
ลูกชายพ่อแพทย์โซ่ทองกับญาแม่สะออน ด.ช.
ลูกสาวพ่อแพทย์โซ่ทองกับญาแม่สะออน ด.ญ.หทัยประภัสสร์ กิตติถาวรวุฒิ
พ่อท้าวบุดดา
แม่ของญาแม่คำอ่อน
ตำรวจ รชต สิงห์จันทร์
แม่สารวัตรกำจร สุภาภรณ์ สร้อยพานิช
ท่านเสสะเกด ชินธันย์ เธียรกิตติพงษ์
มหาอำมาตย์ ชาลี อิ่มมาก
ลูกน้องพ่อครูสมิงพันดง แบงค์ ท้องทุ่ง
ชาวบ้าน ยุพา กิ่งจันทร์
ชาวบ้าน ภาคินี ทิพา
นักปฏิบัติธรรมในวัดป่า เบญจา สิงขรวัฒน์
ญาครู (หลวงพ่อ) ชเลศวร หาญชนะ
เจ้าไกรศรี เอกตะวัน คุ้มชาติ
นายก้อง

นักแสดงที่ถอนตัว

แก้

เพลงประกอบละคร

แก้

อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้