ชาวบอสนีแอก (บอสเนีย: Bošnjaci, ออกเสียง: [boʃɲǎːtsi]; เพศชายเดี่ยว: Bošnjak, เพศหญิง: Bošnjakinja) เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ในบอลข่านที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคบอสเนียในอดีต[23] ซึ่งปัจจุบันคือประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ชาวบอสนีแอกส่วนใหญ่มักพบอาศัยในประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชีย คอซอวอ เซอร์เบีย มาซิโดเนีย และ มอนเตเนโกร

ชาวบอสนีแอก
Bošnjaci
แผนที่ชาวบอสนีแอกพลัดถิ่นทั่วโลก
ประชากรทั้งหมด
3 ล้านคน (ประมาณ)[note 1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา1,769,592[1]
 สหรัฐ350,000[2]
 เยอรมนี158,158[3]
 เซอร์เบีย145,278[4]
 ออสเตรีย128,047[5]
 ตุรกี112,000[6]
 สวีเดน90,498[7]
 มอนเตเนโกร53,605[8]
สวิตเซอร์แลนด์46,773[9]
 โครเอเชีย31,479[10]
 คอซอวอ[a]27,533[11]
 อิตาลี21,911[12]
 สโลวีเนีย21,542[13]
 เดนมาร์ก21,000[14]
 ออสเตรเลีย17,993[15]
มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนียเหนือ17,018[16]
 นอร์เวย์16,338[17][18]
 ฟินแลนด์2,322[19]
 เบลเยียม2,182[20]
รวมใน สหภาพยุโรป400,000[21]
ภาษา
บอสเนีย
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลลามนิกายซุนนี[22]
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มชนสลาฟใต้อื่น ๆ
โดยเฉพาะชาวเซิร์บเชื้อสายบอสเนีย, ชาวโครเอเชียเชื้อสายบอสเนีย

หมายเหตุ แก้

  1. คอซอวอเป็นดินแดนข้อพิพาทระหว่างสาธารณรัฐคอซอวอกับสาธารณรัฐเซอร์เบีย สาธารณรัฐคอซอวอประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 แต่เซอร์เบียยังคงอ้างว่าคอซอวอเป็นดินแดนอธิปไตยของตน ใน พ.ศ. 2556 ทั้งสองรัฐบาลเริ่มกระชับความสัมพันธ์ให้เป็นปกติในฐานะส่วนหนึ่งของข้อตกลงบรัสเซลส์ ปัจจุบันคอซอวอได้รับการยอมรับว่าเป็นรัฐเอกราชจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ 98 ชาติจาก 193 ชาติ
  1. จำนวนประชากรโดยประมาณข้างล่างอาจมากหรือน้อยกว่านี้

อ้างอิง แก้

  1. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-06-30. สืบค้นเมื่อ 2017-05-13.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  2. Bureau, U.S. Census. "U.S. Census website". สืบค้นเมื่อ 2006-06-09.
  3. Germans and foreigners with an immigrant background เก็บถาวร 2009-05-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. "Попис становништва, домаћинстава и станова 2011. у Републици Србији: НАЦИОНАЛНА ПРИПАДНОСТ" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-12. สืบค้นเมื่อ 2012-12-22.
  5. Bosnian Austrians
  6. "Bosniak | Joshua Project". joshuaproject.net. สืบค้นเมื่อ 2021-04-19.
  7. "Utrikes födda samt födda i Sverige med en eller två utrikes födda föräldrar efter födelseland/ursprungsland, 31 december 2019, totalt". scb.se (ภาษาสวีเดน).
  8. "Census of Population, Households and Dwellings in Montenegro 2011" (PDF). July 12, 2011. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2011. สืบค้นเมื่อ 13 July 2011.
  9. "Pub_Auslaender_D.pdf" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  10. Cro Census 2011, Dzs.hr
  11. Kosovo Census 2011, ask.rks-gov.net
  12. "Bosniaci in Italia - statistiche e distribuzione per regione". Tuttitalia.it (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ 2021-10-07.
  13. "Statistični urad RS - Popis 2002". สืบค้นเมื่อ 1 May 2016.
  14. "Kilde: "Ældre bosniske flygtninge søger hjem"". Folkedrab.dk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-25. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  15. "2054.0 Australian Census Analytic Program: Australians' Ancestries (2001 (Corrigendum))" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  16. "Macedonian Census 2002" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-08. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  17. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-07. สืบค้นเมื่อ 2016-11-19.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  18. Joshua Project (2010-04-13). "Bosniak of Italy Ethnic People Profile". Joshuaproject.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-13. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  19. "Väestö".
  20. "Belgium figures". Dofi.fgov.be. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-02. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  21. "2 DEMOGRAFIA 2006.pmd" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-07-26. สืบค้นเมื่อ 2012-01-05.
  22. Aziz Al-Azmeh; Effie Fokas (15 November 2007). Islam in Europe: Diversity, Identity and Influence. Cambridge University Press. p. 97. ISBN 978-1-139-46782-7.
  23. "Historical Construction and Development of Bosniak Nation". ResearchGate (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-07-26.

ข้อมูล แก้

หนังสือ

วารสาร

แหล่งข้อมูลอื่น แก้