กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

การแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในร่มที่จะจัดขึ้นในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ที่เมืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6 ถึงวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 2016 โดยการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มทำการแข่งขันที่ฌีนาซีอูดูมารากานังซิญญู และวอลเลย์บอลชาดหายจัดที่หาดกอปากาบานา[1][2]

กีฬาวอลเลย์บอล
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
ตราสัญลักษณ์วอลเลย์บอลในร่ม (ซ้าย) และวอลเลย์บอลชายหาด (ขวา)
สนามฌีนาซีอูดูมารากานังซิญญู (ในร่ม)
กอปากาบานาสเตเดียม (ชาดหาย)
วันที่6–21 สิงหาคม ค.ศ. 2016
← 2012
2020 →

กำหนดการแข่งขัน

แก้
P รอบคัดเลือก รอบ 16 ทีมสุดท้าย ¼ รอบก่อนรองชะเลิศ ½ รอบรองชะเลิศ B ชิงเหรียญทองแดง F ชิงชนะเลิศ
ประเภท↓/วันที่ → ส. 6 อา. 7 จ. 8 อ. 9 พ. 10 พฤ. 11 ศ. 12 ส 13 อา. 14 จ. 15 อ. 16 พ. 17 พฤ. 18 ศ. 19 ส. 20 อา. 21
ในร่มทีมชาย P P P P P ¼ ½ B F
ในร่มทีมหญิง P P P P P ¼ ½ B F
ชายหาดทีมชาย P P P P P P ¼ ½ B F
ชายหาดทีมหญิง P P P P P P ¼ ½ B F

ประเภทการแข่งขัน

แก้

ประเภทการแข่งขันแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้

การคัดเลือก

แก้

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติได้กำหนดให้การแข่งขันวอลเลย์บอลประเภทในร่มทั้งชายและหญิงสามารถส่งตัวแทนเข้าแข่งขันได้ประเทศละ 1 ทีมต่อการแข่งขันเท่านั้น แต่วอลเลย์บอลประเภทชายหาดสามารถส่งทีมเข้าแข่งขันได้มากที่สุดประเทศละ 2 ทีม[3][4][5]

การคัดเลือกทีมชาย

แก้

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกทีมชายมีรายละเอียดดังนี้

การคัดเลือก วันที่ เจ้าภาพ จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552   โคเปนเฮเกน 1   บราซิล
เวิลด์คัพ 2015 8–23 กันยายน 2558   ญี่ปุ่น 2   สหรัฐ
  อิตาลี
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 9–11 ตุลาคม 2558   ไมย์เกเตีย 1   อาร์เจนตินา
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 5–10 มกราคม 2559   เบอร์ลิน 1   รัสเซีย
รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา 7–14 มกราคม 2559   บราซาวีล 1   อียิปต์
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 8–10 มกราคม 2559   เอดมันตัน 1   คิวบา
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 28 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน 2559   ญี่ปุ่น 1   อิหร่าน
การคัดเลือกทัวร์นาเมนต์ 1 3   โปแลนด์
  ฝรั่งเศส
  แคนาดา
การคัดเลือกทัวร์นาเมนต์ 2 3–5 มิถุนายน 2559   เม็กซิโกซิตี 1   เม็กซิโก
รวม 12

การคัดเลือกทีมหญิง

แก้

ทีมที่ผ่านการคัดเลือกทีมหญิงมีรายละเอียดดังนี้

การคัดเลือก วันที่ เจ้าภาพ จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552   โคเปนเฮเกน 1   บราซิล
เวิลด์คัพ 2015 22 สิงหาคม–6 กันยายน 2558   ญี่ปุ่น 2   จีน
  เซอร์เบีย
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 4–9 มกราคม 2559   อังการา 1   รัสเซีย
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 6–10 มกราคม 2559   บารีโลเช 1   อาร์เจนตินา
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 7–9 มกราคม 2559   ลิงคอล์น 1   สหรัฐ
รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา 12–16 กุมภาพันธ์ 2559   ยาอุนเด 1   แคเมอรูน
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 14–22 พฤษภาคม 2559   โตเกียว 1   ญี่ปุ่น
การคัดเลือกทัวร์นาเมนต์ที่ 1 3   อิตาลี
  เนเธอร์แลนด์
  เกาหลีใต้
การคัดเลือกทัวร์นาเมนต์ที่ 2 20–22 พฤษภาคม   ซานฮวน 1   ปวยร์โตรีโก
รวม 12

วอลเลย์บอลชายหาด

แก้
การคัดเลือก วันที่ สนาม จำนวน ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
ทีมชาย ทีมหญิง
ประเทศเจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552   โคเปนเฮเกน 2   บราซิล   บราซิล
วอลเลย์บอลชายหาดชิงแชมป์โลก 2015 26 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม 2558   เนเธอร์แลนด์ 2   บราซิล   บราซิล
อันดับโลก[6][7] 13 มิถุนายน 2559   โลซาน 30   เนเธอร์แลนด์   สหรัฐ
  สหรัฐ   เยอรมนี
  เนเธอร์แลนด์   แคนาดา
  สหรัฐ   เนเธอร์แลนด์
  สเปน   ออสเตรเลีย
  ลัตเวีย   อิตาลี
  รัสเซีย   เยอรมนี
  อิตาลี   สเปน
  โปแลนด์   โปแลนด์
  อิตาลี   สวิตเซอร์แลนด์
  ออสเตรีย   แคนาดา
  โปแลนด์   สวิตเซอร์แลนด์
  เยอรมนี   สหรัฐ
  แคนาดา   อาร์เจนตินา
  เม็กซิโก   จีน
เอวีซีคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016 21 เมษายน – 26 มิถุนายน 2559
(รอบสุดท้าย)
  TBA 2   กาตาร์   ออสเตรเลีย
ซีเอวีบีคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016 2   ตูนิเซีย   อียิปต์
ซีอีวีคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016   สตาวังเงร์ 2   ออสเตรีย   เนเธอร์แลนด์
ซีเอสวีคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016 2   ชิลี   เวเนซุเอลา
นอร์เซกาคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016   อากาปุลโก 2   คิวบา   คอสตาริกา
เอฟไอวีบีคอนติเนนตัลคัพ 2014–2016 4–10 กรกฎาคม 2559   โซชี 4   แคนาดา   เช็กเกีย
  รัสเซีย   รัสเซีย
รวม 48 24 24

การแข่งขันในร่มทีมชาย

แก้

การแข่งขันจะประกอบไปด้วย 2 กลุ่ม; หลังจากรอบคัดเลือก จะเป็นรอบก่อนรองชนะเลิศ

รอบคัดเลือก

แก้

ทีมจะได้รับแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ประเทศ โดยจะต้องทำการแข่งขันแบบพบกันหมดในแต่ละกลุ่ม ทีมที่ชนะ 3–0 หรือ 3–1 จะได้รับ 3 คะแนน ทีมที่ชนะ 3–2 จะได้รับ 2 คะแนน ทีมที่แพ้ 2–3 จะได้รับ 1 คะแนน และทีมที่แพ้ 0–3 หรือ 1–3 จะได้รับ 0 คะแนน 4 ทีมของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ

กลุ่ม A

แก้
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน การผ่านเข้ารอบ
1   อิตาลี 5 4 1 12 13 5 2.600 432 375 1.152 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2   แคนาดา 5 3 2 9 10 7 1.429 378 378 1.000
3   สหรัฐ 5 3 2 9 10 8 1.250 419 405 1.035
4   บราซิล (H) 5 3 2 9 11 9 1.222 467 442 1.057
5   ฝรั่งเศส 5 2 3 6 8 9 0.889 386 367 1.052
6   เม็กซิโก 5 0 5 0 1 15 0.067 283 398 0.711
แหล่งที่มา : FIVB
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม B

แก้
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน การผ่านเข้ารอบ
1   อาร์เจนตินา 5 4 1 12 12 4 3.000 394 335 1.176 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2   โปแลนด์ 5 4 1 12 14 5 2.800 447 389 1.149
3   รัสเซีย 5 4 1 11 13 6 2.167 432 367 1.177
4   อิหร่าน 5 2 3 7 8 9 0.889 389 392 0.992
5   อียิปต์ 5 1 4 3 3 12 0.250 286 362 0.790
6   คิวบา 5 0 5 0 1 15 0.067 300 403 0.744
แหล่งที่มา : FIVB
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข

รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
17 สิงหาคม
 
 
  อิตาลี3
 
19 สิงหาคม
 
  อิหร่าน0
 
  อิตาลี3
 
17 สิงหาคม
 
  สหรัฐ2
 
  สหรัฐ3
 
21 สิงหาคม
 
  โปแลนด์0
 
  อิตาลี0
 
17 สิงหาคม
 
  บราซิล3
 
  แคนาดา0
 
19 สิงหาคม
 
  รัสเซีย3
 
  รัสเซีย0
 
17 สิงหาคม
 
  บราซิล3 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
  บราซิล3
 
21 สิงหาคม
 
  อาร์เจนตินา1
 
  สหรัฐ3
 
 
  รัสเซีย2
 

การแข่งขันในร่มทีมหญิง

แก้

การแข่งขันจะประกอบไปด้วย 2 กลุ่ม; หลังจากรอบคัดเลือก จะเป็นรอบก่อนรองชนะเลิศ

รอบคัดเลือก

แก้

ทีมจะได้รับแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ประเทศ โดยจะต้องทำการแข่งขันแบบพบกันหมดในแต่ละกลุ่ม ทีมที่ชนะ 3–0 หรือ 3–1 จะได้รับ 3 คะแนน ทีมที่ชนะ 3–2 จะได้รับ 2 คะแนน ทีมที่แพ้ 2–3 จะได้รับ 1 คะแนน และทีมที่แพ้ 0–3 หรือ 1–3 จะได้รับ 0 คะแนน 4 ทีมของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ

กลุ่ม A

แก้
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล (H) 5 5 0 15 15 0 MAX 377 272 1.386 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2   รัสเซีย 5 4 1 12 12 4 3.000 393 323 1.217
3   เกาหลีใต้ 5 3 2 9 10 7 1.429 384 372 1.032
4   ญี่ปุ่น 5 2 3 6 7 9 0.778 347 364 0.953
5   อาร์เจนตินา 5 1 4 2 3 14 0.214 319 407 0.784
6   แคเมอรูน 5 0 5 1 2 15 0.133 328 410 0.800
แหล่งที่มา : FIVB
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม B

แก้
อันดับ ทีม แข่ง ชนะ แพ้ คะแนน เซตชนะ เซตแพ้ อัตราส่วน แต้มชนะ แต้มแพ้ อัตราส่วน การผ่านเข้ารอบ
1   สหรัฐ 5 5 0 14 15 5 3.000 470 400 1.175 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2   เนเธอร์แลนด์ 5 4 1 11 14 7 2.000 455 425 1.071
3   เซอร์เบีย 5 3 2 10 12 6 2.000 410 394 1.041
4   จีน 5 2 3 7 9 9 1.000 398 389 1.023
5   อิตาลี 5 1 4 3 4 12 0.333 351 374 0.939
6   ปวยร์โตรีโก 5 0 5 0 0 15 0.000 277 379 0.731
แหล่งที่มา : FIVB
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข

รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
16 สิงหาคม
 
 
  บราซิล2
 
18 สิงหาคม
 
  จีน3
 
  จีน3
 
16 สิงหาคม
 
  เนเธอร์แลนด์1
 
  เกาหลีใต้1
 
20 สิงหาคม
 
  เนเธอร์แลนด์3
 
  จีน3
 
16 สิงหาคม
 
  เซอร์เบีย1
 
  รัสเซีย0
 
18 สิงหาคม
 
  เซอร์เบีย3
 
  เซอร์เบีย3
 
16 สิงหาคม
 
  สหรัฐ2 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
  ญี่ปุ่น0
 
20 สิงหาคม
 
  สหรัฐ3
 
  เนเธอร์แลนด์1
 
 
  สหรัฐ3
 

การแข่งขันชายหาดทีมชาย

แก้

การแข่งขันชายหาดทีมหญิง

แก้

สรุปเหรียญ

แก้

ตารางเหรียญการแข่งขัน

แก้
สัญลักษณ์

  *   ประเทศเจ้าภาพ (บราซิล)

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   บราซิล* 2 1 0 3
2   จีน 1 0 0 1
  เยอรมนี 1 0 0 1
4   อิตาลี 0 2 0 2
5   เซอร์เบีย 0 1 0 1
6   สหรัฐ 0 0 3 3
7   เนเธอร์แลนด์ 0 0 1 1
รวม 4 4 4 12

ผู้ที่ได้รับเหรียญ

แก้
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ในร่มทีมชาย
รายละเอียด
  บราซิล (BRA)
บรูนู เรเซงจี  
แอเดร์ การ์โบเนรา
วัลลาซี จี โซซา
วิลเลียม อาร์โฌนา
แซร์ฌีอู ซังตุส
ลูอิส เฟลีปี ฟงแตเลส
เมารีซีอู โซซา
โดกลัส โซซา
ลูกัส ซาชกังป์
เอวันดรอ เกวรา
รีการ์ดู ลูกาเรลลี โซซา
เมารีซีอู บอร์ฌิส
  อิตาลี (ITA)
ปัสกวาเล ซอตตีเล
ลูกา วีตอรี
โอสมานี ควนโตเรนา
ซีโมเน จันเนลลี
ซัลวาโตเร รอสซีนี
อีวาน ไซเซฟ
ฟีลิปโป ลันซา
ซีโมเน บูตี
มัสซีโม โคลาชี
มัตเตโอ เปียโน
เอมานูเอเล บีราเรลลี  
โอเลก อันโตนอฟ
  สหรัฐ (USA)
แมทธิว แอนเดอร์สัน
แอรอน รัสเซล
เทย์เลอร์ แซนเดอร์
เดวิด ลี  
คาวิกา โชจิ
รีด พริดดี
เมอร์ฟี ทรอย
โทมัส แจชก์
ไมคาห์ คริสเตนเซน
แมกซ์เวล โฮลท์
เดวิด สมิธ
เอริก โชจิ
ในร่มทีมหญิง
รายละเอียด
  จีน (CHN)
ยฺเหวียน ซินเยฺว่
จู ถิง
หยาง ฟางสวี
กง เสียงอฺวี่
เว่ย ชิวเยฺว่
จาง ฉางหนิง
หลิว เสี่ยวถง
สฺวี ยฺหวินหลี่
ฮุ่ย รั่วฉี  
หลิน หลี่
ติง เสีย
เหยียน หนี
  เซอร์เบีย (SRB)
บยันกา บูชา
ยอวานา คันชียัน
บอยานา ชิวคอวิช
ตียานา มาเลเชวิช
บรันคีชา มีฮาลอวิช
มายา ออกเญนอวิช  
สเตฟานา เวลคอวิช
เยเรนา นีคอลิช
ยอวานา สเตวานอวิช
มีเลนา ราชิช
ซิลวียา ปอปอวิช
ตียานา บอชคอวิช
  สหรัฐ (USA)
อะลิชา แกลสส์
เคย์ลา แบนเวิร์ท
คอร์ทนี ทอมป์สัน
เรเชล อดัมส์
คาร์ลี ลอยด์
จอร์แดน ลาร์สัน
เคลลี เมอร์ฟี
คริสตา ฮาร์มอตโต 
คิมเบอร์ลี ฮิลล์
โฟลุก อะคินราเดโว
เคลซีย์ โรบินสัน
คาร์สตา โลว์
ชายหาดชาย
รายละเอียด
  บราซิล (BRA)
อาลีซง เซรุตชี
บรูนู โอสการ์ ซมิดต์
  อิตาลี (ITA)
ดานีเอเล ลูโป
เปาโล นีโกลาอี
  เนเธอร์แลนด์ (NED)
อาแล็กซันเดอร์ เบราเวอร์
รอเบิร์ต เมวเซิน
ชายหาดหญิง
รายละเอียด
  เยอรมนี (GER)
เลารา ลุดวิก
คีรา วัลเคินฮอสท์
  บราซิล (BRA)
อากาตา แบดนาร์กซุก
บาร์บารา เซย์ชัส
  สหรัฐ (USA)
เคอร์รี วอลช์ เจนนิงส์
เอพริล รอสส์

อ้างอิง

แก้
  1. "Rio 2016: Beach Volleyball". Rio 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-27. สืบค้นเมื่อ 31 January 2015.
  2. "Rio 2016: Volleyball". Rio 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-11. สืบค้นเมื่อ 31 January 2015.
  3. "Rio 2016 – FIVB Volleyball Qualification System" (PDF). ITU. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  4. Kauffman, Bill (4 December 2012). "FIVB Discusses 2016 Olympic Qualification". Team USA. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  5. "FIVB announces Rio 2016 Olympic Qualification System for beach volleyball". FIVB. 6 May 2014. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  6. "FIVB Beach Volleyball Olympic Ranking - Men". Fédération Internationale de Volleyball. สืบค้นเมื่อ 7 October 2015.
  7. "FIVB Beach Volleyball Olympic Ranking - Women". Fédération Internationale de Volleyball. สืบค้นเมื่อ 7 October 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้