การาจี (อูรดู: کراچی; สินธ์: ڪراچي; สัทอักษรสากล: [kəˈraːtʃi]  ( ฟัง)) เป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศปากีสถาน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 12 ของโลก โดยมีจำนวนประชากรมากกว่า 20 ล้านคน[17][18][19] การาจีตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ติดกับทะเลอาหรับ ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของปากีสถาน และยังคงเป็นเมืองหลักของแคว้นสินธ์ นครจัดจัดเป็นเมืองระดับโลกชั้นเบตา[20][21] นครนี้เป็นศูนย์กลางทางการเงินและอุตสาหกรรมชั้นนำของประเทศ[22] ใน ค.ศ. 2021 จีดีพีโดยประมาณของนครนี้อยู่ที่มากกว่า 200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พีพีพี)[15][16] ตามรายงานจาก FBR นครการาจีจ่ายภาษี 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (25% ของทั้งประเทศ) ในช่วงปีงบประมาณในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2021 ถึงพฤษภาคม ค.ศ. 2022 การาจียังเป็นนครที่มีความเป็นสากล ความหลากหลายทางภาษา เชื้อชาติ และศาสนามากที่สุดของประเทศปากีสถาน[23] และเป็นหนึ่งในนครที่มีเสรีภาพทางสังคมและโลกิยนิยมมากที่สุดของประเทศ[24][25][26] การาจีทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการขนส่ง และมีท่าเรือใหญ่สุดสองแห่งของประเทศ คือ ท่าเรือการาจีกับท่าเรือกอซิม และเป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานที่มีคนพลุกพล่านมากที่สุดของประเทศ คือ ท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์[27]

การาจี

کراچی
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: Mazar-e-Quaid, Hawke's Bay Beach, Frere Hall, Karachi Port Trust Building, พระราชวังโมฮัตตา, ท่าเรือการาจี
สมญา: 
นครแห่ง Quaid,[1] ปารีสตะวันออก,[2][3] นครแห่งแสง,[2] Bride of the Cities[4][5]
การาจีตั้งอยู่ในแคว้นสินธ์
การาจี
การาจี
ที่ตั้งในแคว้นสินธ์
การาจีตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
การาจี
การาจี
ที่ตั้งในประเทศปากีสถาน
การาจีตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
การาจี
การาจี
การาจี (ทวีปเอเชีย)
การาจีตั้งอยู่ในโลก
การาจี
การาจี
การาจี (โลก)
พิกัด: 24°51′36″N 67°0′36″E / 24.86000°N 67.01000°E / 24.86000; 67.01000พิกัดภูมิศาสตร์: 24°51′36″N 67°0′36″E / 24.86000°N 67.01000°E / 24.86000; 67.01000
ประเทศ ปากีสถาน
แคว้น แคว้นสินธ์
เขตการาจี
จัดตั้งค.ศ. 1729
สภามหานคร1880; 144 ปีที่แล้ว (1880)
สภานครCity Complex, Gulshan-e-Iqbal Town
เขต[6]
การปกครอง[9]
 • ประเภทองค์การมหานคร
 • องค์กรรัฐบาลการาจี
 • นายกเทศมนตรีไม่มี (ว่าง)
 • รองนายกเทศมนตรีไม่มี (ว่าง)
 • เจ้าหน้าที่ปกครองDr. Saif ur Rehman[7]
 • ข้าหลวงIqbal Memon[8]
พื้นที่[10]
 • นคร3,780 ตร.กม. (1,460 ตร.ไมล์)
ความสูง[11]10 เมตร (30 ฟุต)
ประชากร
 • นคร14,916,456 คน
 • อันดับที่ 1 (ปากีสถาน); ที่ 12 (โลก)
 • ความหนาแน่น3,900 คน/ตร.กม. (10,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล16,051,521 คน
เขตเวลาUTC+05:00 (เวลามาตรฐานปากีสถาน)
รหัสไปรษณีย์74XXX – 75XXX
รหัสโทรศัพท์021[14]
จีดีพี/พีพีพี200,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (2021)[15][16]
ท่าอากาศยานนานาชาติจินนาห์ (KHI)
ระบบขนส่งมวลชนเร็วการาจีบรีซ
เขตที่มีพื้นที่มากสุดMalir
ประชากรมากสุดตามพื้นที่ (2020)Orangi Town (2,750,000)
บริเวณที่มีจีดีพีสูงสุด (2020)Saddar Town (40,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
เว็บไซต์www.kmc.gos.pk

แคว้นนี้มีผู้อยู่อาศัยมาหลายสหัสวรรษ[28] แต่ตัวนครได้รับการจัดตั้งเป็นหมู่บ้านที่มีป้อมปราการชื่อ Kolachi ใน ค.ศ. 1729[29][30] การตั้งถิ่นฐานมีความสำคัญเพิ่มขึ้นอย่างมากเมื่อบริษัทอินเดียตะวันออกเข้ามาในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เจ้าหน้าที่ปกครองของอังกฤษได้ดำเนินโครงการมากมายเพื่อเปลี่ยนเมืองให้กลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญ และเชื่อมมันกับเครือข่ายรถไฟส่วนขยายของอนุทวีปอินเดีย[30] ในช่วงที่มีการแบ่งอินเดียใน ค.ศ. 1947 การาจีเป็นเมืองใหญ่สุดในแคว้นสินธ์ โดยมีประชากรประมาณ 400,000 คน[23] หลังวันเอกราชปากีสถาน นครนี้เกิดารเปลี่ยนแปลงในด้านจำนวนประชากรและประชากรศาสตร์อย่างมาก เนื่องจากการเข้ามาของผู้อพยพมุสลิม Muhajir (ผู้พูดภาษาอูรดู) แสนกว่าคนจากอินเดีย[31] ประกอบกับการอพยพออกของพลเมืองฮินดู ซึ่งทำให้ชาวฮินดูในนครลดลงจาก 51.1% เหลือเพียง 1.7% ของประชากรทั้งหมด[32][33] นครนี้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วหลังปากีสถานได้รับเอกราช ดึงดูดผู้อพยพจากทั่วประเทศและภูมิภาคอื่น ๆ ในเอเชียใต้[34] รายงานจากสำมะโนปากีสถาน ค.ศ. 2017 การาจีมีประชากรทั้งหมด 16,051,521 คน โดย 14.9 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเมือง การาจีเป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก[35] และมีชุมชนที่สำคัญจากกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศปากีสถานเกือบทั้งหมด การาจีมีผู้อพยพชาวเบงกอล 2 ล้านคน ผู้ลี้ภัยชาวอัฟกัน 1 ล้านคน และชาวโรฮีนจาจากประเทศพม่า 400,000 คน[36][37][38]

ศัพทมูลวิทยา แก้

ก่อนปากีสถานเป็นเอกราช นครนี้รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ Karanchi ในภาษาอูรดู ถึงแม้ว่ารูปสะกดภาษาอังกฤษ Karachi เริ่มกลายเป็นที่นิยมมากขึ้น[39]

เมืองพี่น้อง แก้

อ้างอิง แก้

  1. Sarina Singh 2008, p. 164.
  2. 2.0 2.1 Paracha, Nadeem F. (26 September 2014). "Visual Karachi: From Paris of Asia, to City of Lights, to Hell on Earth". Dawn. Pakistan. สืบค้นเมื่อ 10 March 2016.
  3. Ghosh, Palash (22 August 2013). "Karachi, Pakistan: Troubled, Violent Metropolis Was Once Called 'Paris Of The East'". International Business Times. สืบค้นเมื่อ 8 January 2017.
  4. Hunt Janin & Scott A. Mandia 2012, p. 98.
  5. Sind Muslim College 1965.
  6. "District in Karachi". Karachi Metropolitan Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2014. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
  7. "Dr Syed Saifur Rehman appointed Karachi administrator". Dawn (newspaper). 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2022.
  8. "Commissioner vows support for Christmas Interfaith Peace Rally". The News International (newspaper). 10 December 2021. สืบค้นเมื่อ 24 December 2021.
  9. "Government". Karachi Metropolitan Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2014. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
  10. "Karachi Metropolitan Corporation". City District Government of Karachi. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-23. สืบค้นเมื่อ 4 March 2022.
  11. "Elevation of Karachi, Pakistan - Topographic Map - Altitude Map". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2020. สืบค้นเมื่อ 4 June 2020.
  12. Pakistan Bureau of Statistics. "Population of Major Cities – Census 2017" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 August 2017.
  13. "DISTRICT WISE CENSUS RESULTS CENSUS 2017" (PDF). pbscensus.gov.pk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 August 2017. สืบค้นเมื่อ 3 September 2017.
  14. "National Dialing Codes". PTCL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 November 2015. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.
  15. 15.0 15.1 "Karachi: The backbone of Pakistan". September 2020.
  16. 16.0 16.1 "| Finance Division | Government of Pakistan |". Finance Division, Government of Pakistan.
  17. "Ten major cities' population up by 74pc". สืบค้นเมื่อ 21 October 2017.
  18. "Population size and growth of major cities" (PDF). Pakistan Bureau of Statistics. 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 November 2018. สืบค้นเมื่อ 18 February 2016.
  19. Amer, Khawaja (10 June 2013). "Population explosion: Put an embargo on industrialisation in Karachi". The Express Tribune. สืบค้นเมื่อ 16 June 2017.
  20. "GaWC – The World According to GaWC 2008". Lboro.ac.uk. 3 June 2009. สืบค้นเมื่อ 14 September 2009.
  21. "GAWC World Cities Ranking List". Diserio.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2010. สืบค้นเมื่อ 14 September 2009.
  22. "PIGJE". pigje.com.pk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2014. สืบค้นเมื่อ 25 February 2016.
  23. 23.0 23.1 Inskeep, Steve (2012). Instant City: Life and Death in Karachi. Penguin Publishing Group. p. 284. ISBN 978-0-14-312216-6. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
  24. Paracha, Nadeem F. (26 September 2014). "Visual Karachi: From Paris of Asia, to City of Lights, to Hell on Earth". Dawn. สืบค้นเมื่อ 8 March 2016.
  25. Abbas, Qaswar. "Karachi: World's most dangerous city". India Today. สืบค้นเมื่อ 24 October 2016. Karachi, Pakistan's largest city, with a population of approx. 3.0 crore (Mumbai has 2 crore people) is the country's most educated, liberal and secular metropolis.
  26. "Pakistani journalists face threats from Islamists". Deutsche Welle. สืบค้นเมื่อ 24 October 2016. This all happened in the heart of Karachi – a relatively liberal city with a population of more than 15 million.
  27. "Details – The World Factbook". www.cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 July 2021. สืบค้นเมื่อ 10 July 2021.
  28. Mahim, Maher (3 November 2013). "Karachi's Stone Age proves history didn't start with the Muslims". The Express Tribune. สืบค้นเมื่อ 16 October 2016.
  29. Askari, Sabiah (2015). Studies on Karachi: Papers Presented at the Karachi Conference 2013. Cambridge Scholars Publishing. ISBN 978-1-4438-7744-2. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
  30. 30.0 30.1 Gayer, Laurent (2014). Karachi: Ordered Disorder and the Struggle for City. HarperCollins Publishers. p. 368. ISBN 9789351160861. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
  31. "Port Qasim | About Karachi". Port Qasim Authority. สืบค้นเมื่อ 10 February 2014.
  32. "CENSUS OF INDIA, 1941 VOLUME XII SIND" (PDF). สืบค้นเมื่อ 6 December 2021.
  33. "Population According to Religion" (PDF). Census of Pakistan, 1951. p. 8,22.
  34. Brunn, Stanley (2008). Cities of the World: World Regional Urban Development. Rowman & Littlefield. p. 647. ISBN 978-0-7425-5597-6. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 30 October 2016.
  35. Kotkin, Joel. "The World's Fastest-Growing Megacities". Forbes.
  36. "Falling back". Daily Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2011. สืบค้นเมื่อ 24 August 2010.
  37. "Chronology for Biharis in Bangladesh". Center for International Development and Conflict Management, University of Maryland. 10 January 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2010. สืบค้นเมื่อ 6 May 2010.
  38. Craig, Time. "Pakistan cracks down on Afghan immigrants, fearing an influx as U.S. leaves Afghanistan". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 24 October 2016. Qaim Ali Shah, the chief minister of Sindh province in southern Pakistan, said at a news conference in February that there were already more than 1 million illegal Afghan immigrants living in Karachi, a rapidly growing city of 22 million people.
  39. "Pakistan Emergency Situational Analysis – District Karachi" (PDF). Alhasan Systems. 2015. p. 14.
  40. "Here are the TWIN Sisters of Karachi, Lahore, Islamabad, Multan, and other Pakistani cities, from across the globe". siasat.pk. Siasat Blogs. 19 กรกฎาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2021.
  41. "Qom". toiran.com. Toiran.com. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2021.
  42. "China's Tianjin Municipality named sister-city to Karachi, Islamabad". pakistantoday.com.pk. Pakistan Today. 21 กันยายน 2021. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2021.
  43. "Three Chinese towns named sister cities to Karachi, Gwadar, Multan". dawn.com. Dawn. 29 มีนาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2021.

บรรณานุกรม แก้

แหล่งข้อมูลอิ่น แก้

 
Wikinews
วิกิข่าว มีข่าวเกี่ยวกับบทความ:
Category:Karachi