ทะเลอาหรับ

ทะเล

ทะเลอาหรับ (อังกฤษ: Arabian Sea; อาหรับ: بحر العرب) เป็นบริเวณทางเหนือของมหาสมุทรอินเดีย โดยทิศเหนือติดกับประเทศปากีสถาน, อิหร่าน และอ่าวโอมาน ทิศตะวันตกติดกับอ่าวเอเดน, ช่องการ์ดาฟูล และคาบสมุทรอาหรับ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับทะเลแลกคาดิฟ[1] ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศโซมาเลีย[2] และทิศตะวันออกติดกับประเทศอินเดีย รวมมีพื้นที่ 3,862,000 ตารางกิโลเมตร (1,491,000 ตารางไมล์) และส่วนที่ลึกที่สุดลึก 4,652 เมตร (15,262 ฟุต)

ทะเลอาหรับ
center
ที่ตั้งจะงอยแอฟริกา, เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้
พิกัด14°N 65°E / 14°N 65°E / 14; 65
ชนิดทะเล
ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย
ประเทศในลุ่มน้ำอินเดีย
อิหร่าน
มัลดีฟส์
โอมาน
ปากีสถาน
โซมาเลีย
เยเมน
เซเชลส์
ศรีลังกา
ช่วงกว้างที่สุด2,400 กิโลเมตร (1,500 ไมล์)
พื้นที่พื้นน้ำ3,862,000 ตารางกิโลเมตร (1,491,000 ตารางไมล์) (3,600,000 ถึง 4,600,000 ตารางกิโลเมตรตามหลายข้อมูล)
ความลึกสูงสุด4,652 เมตร (15,262 ฟุต)
เกาะเกาะอัสโตลา, เกาะ Basavaraj Durga, ลักษทวีป, เกาะมะศีเราะฮ์, เกาะปิรัม, พีโรตัน, โซโคตรา
ทะเลอาหรับ

ประเทศที่ติดทะเลนี้

แก้
 
ทะเลอาหรับมองจากอวกาศ.

ประเทศที่ติดทะเลนี้ มีดังนี้:[3][4]

  1.   อินเดีย - ชายฝั่ง 2,500 กิโลเมตร
  2.   ปากีสถาน - ชายฝั่ง 1,050 กิโลเมตร
  3.   อิหร่าน
  4.   มัลดีฟส์
  5.   โอมาน
  6.   เยเมน
  7.   โซมาเลีย

อ้างอิง

แก้
  1. Banse, Karl, and Charles R. McClain. "Winter blooms of phytoplankton in the Arabian Sea as observed by the Coastal Zone Color Scanner." Marine Ecology Progress Series (1986): 201-211.
  2. Pham, J. Peter. "Putting Somali piracy in context." Journal of Contemporary African Studies 28.3 (2010): 325-341.
  3. "Middle East :: Iran — The World Factbook - Central Intelligence Agency". www.cia.gov.
  4. "Introduction to Pakistan: Section 5: Coastline". www.wildlifeofpakistan.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-26. สืบค้นเมื่อ 2022-02-09.

ข้อมูล

แก้

  บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Arabian Sea" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Arabian Sea