กัวลาเตอเริงกานู

กัวลาเตอเริงกานู[4] หรือ กัวลาตรังกานู[4] (มลายู: Kuala Terengganu, كوالا ترڠڬانو) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลจีนใต้ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ห่างจากกัวลาลัมเปอร์ราว 500 กิโลเมตร มีประชากร 406,317 คน[5]

กัวลาเตอเริงกานู
การถอดเสียงภาษาอื่น ๆ
 • ยาวีكوالا ترڠڬانو
 • จีน瓜拉登嘉樓 (ตัวเต็ม)
 • ทมิฬகுவாலா தெரெங்கானு
จากบนขวาตามเข็มนาฬิกา: พิพิธภัณฑ์รัฐตรังกานู, ถนนเติงกูมีซานที่มีเส้นทางไปที่ตัวเมือง, ไชน่าทาวน์, มัสยิดอาบีดีน และมัสยิดคริสตัล
จากบนตามเข็มนาฬิกา: มัสยิดคริสตัล, หาดบาตูบูรุก, ไชน่าทาวน์, สะพานยกกัวลาเตอเริงกานู, พิพิธภัณฑ์รัฐตรังกานู
ธงของกัวลาเตอเริงกานู
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของกัวลาเตอเริงกานู
ตรา
สมญา: 
KT
คำขวัญ: 
บันดารายา วารีซัน เปอซีซ๊ร์ ไอร์ (Bandaraya Warisan Pesisir Air)
แผนที่
ที่ตั้งของกัวลาเตอเริงกานูในรัฐตรังกานู
กัวลาเตอเริงกานูตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
กัวลาเตอเริงกานู
กัวลาเตอเริงกานู
   กัวลาเตอเริงกานู ใน    ประเทศมาเลเซีย
กัวลาเตอเริงกานูตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
กัวลาเตอเริงกานู
กัวลาเตอเริงกานู
กัวลาเตอเริงกานู (ทวีปเอเชีย)
กัวลาเตอเริงกานูตั้งอยู่ในโลก
กัวลาเตอเริงกานู
กัวลาเตอเริงกานู
กัวลาเตอเริงกานู (โลก)
พิกัด: 05°19′45″N 103°08′10″E / 5.32917°N 103.13611°E / 5.32917; 103.13611พิกัดภูมิศาสตร์: 05°19′45″N 103°08′10″E / 5.32917°N 103.13611°E / 5.32917; 103.13611
ประเทศ มาเลเซีย
รัฐ รัฐตรังกานู
อำเภออำเภอกัวลาเตอเริงกานู
ได้สถานะเทศบาล18 มกราคม ค.ศ. 1979
ได้สถานะเมือง1 มกราคม ค.ศ. 2008
การปกครอง
 • นายกโมฮัมมัด ซุลกิฟลี บิน อาบูบาการ์
พื้นที่
 • ทั้งหมด605 ตร.กม. (233.59 ตร.ไมล์)
ความสูง[2]15 เมตร (49 ฟุต)
ประชากร
 (2014)[3]
 • ทั้งหมด402,000 (อันดับ 1)[1] คน
 • เดมะนิมKuala Terengganuan
เขตเวลาUTC+8 (MST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)ไม่มี
รหัสไปรษณีย์20xxx
รหัสพื้นที่09-6xxxxxxx
ป้ายทะเบียนยานพาหนะT
เว็บไซต์mbkt.terengganu.gov.my

ในอดีตที่นี่เคยเป็นเมืองท่าที่ค้าขายกับประเทศจีน ทำให้ที่นี่มีประชาชนที่เชื้อสายจีนเข้ามาตั้งรกรากเป็นจำนวนมาก แต่ต่อมาการค้าขายมักติดต่อไปยังเมืองมะละกา การค้าในกัวลาเตอเริงกานูจึงลดความสำคัญลงไป

กัวลาเตอเริงกานูเป็นที่รู้จักในฐานะเป็นที่ตั้งของห้องแถวในชุมชนชาวจีนอายุกว่าร้อยปี ซึ่งเคยถูกคุกคามจากการรื้อถอน ภายหลังหมู่บ้านดังกล่าวจึงถูกขึ้นบัญชีของกองทุนอนุสรณ์สถานโลกในปี ค.ศ. 1998[6] ซึ่งมีความพยายามให้ประชาชนในท้องถิ่นอนุรักษ์หมู่บ้านแห่งนี้ต่อไป[7]

อ้างอิง แก้

  1. The total population and total area also includes the population and area for the district of Kuala Nerus, which was a part of the district of Kuala Terengganu, but Kuala Nerus is still under the jurisdiction of Kuala Terengganu City Council.
  2. "Malaysia Elevation Map (Elevation of Kuala Terengganu)". Flood Map : Water Level Elevation Map. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2015. สืบค้นเมื่อ 22 August 2015.
  3. "Population Distribution by Local Authority Areas and Mukims, 2010 (page 1 & 8)" (PDF). Department of Statistics, Malaysia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2015. สืบค้นเมื่อ 19 July 2013.
  4. 4.0 4.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  5. Malaysia - largest cities and towns and statistics of their population, World Gazetter
  6. Azura Abas, "19th century trading post at Kampung Cina: Heritage value gets it listed on 100 Most Endangered Sites," New Straits Times, February 20, 2000, p. 7.
  7. World Monuments Fund - Kampung Cina River Frontage

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ กัวลาเตอเริงกานู