รายชื่อนครในประเทศมาเลเซีย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

บทความนี้เป็นรายชื่อนครของประเทศมาเลเซีย ณ ค.ศ. 2022 ประเทศมาเลเซียมีท้องที่จำนวน 19 แห่งที่ได้รับสถานะนคร (bandar raya) ตามกฎหมาย ในจำนวนนี้มี 16 แห่งอยู่ในมาเลเซียตะวันตก ส่วนอีก 3 แห่งอยู่ในมาเลเซียตะวันออก อย่างไรก็ตาม ยังมีท้องที่ที่มีลักษณะความเป็นเมืองสูงและมีประชากรจำนวนมากแต่ก็ยังไม่มีสถานะนคร ซึ่งบางครั้งก็สามารถเรียกขานเมืองเหล่านี้อย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นนครได้เช่นกัน สถานะนครจะกำหนดให้กับท้องที่ภายในเขตปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนท้องที่อื่น ๆ ที่ไม่ได้มีสถานะนคร ตามกฎหมายแล้วจะถูกจัดประเภทเป็น "เทศบาล" หรือไม่ก็ "เมือง"

นครของประเทศมาเลเซีย

แก้

ต่อไปนี้คือรายชื่อสถานที่ในมาเลเซียโดยเรียงลำดับตามวันที่ได้รับสถานะนคร

ปัจจุบัน

แก้
ข้อมูลทั่วไป เขตบริหาร หมายเหตุ
ชื่อ ภาพ รัฐ การปกครองส่วนท้องถิ่น วันประกาศ ประชากร
ธง ตรา
จอร์จทาวน์
นครเกาะปีนัง
Bandaraya Pulau Pinang
    รัฐปีนัง สภานครเกาะปีนัง
Majlis Bandaraya Pulau Pinang
1 มกราคม 1957
โดยเอลิซาเบธที่ 2,
พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร,
ในฐานะ นครจอร์จทาวน์


31 มีนาคม 2015
โดยอับดุล ฮาลิม แห่งรัฐเกอดะฮ์,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 14,
ในฐานะ นครเกาะปีนัง
794,313 [1][2][3]
   
กัวลาลัมเปอร์
ดินแดนสหพันธ์กัวลาลัมเปอร์
Wilayah Persekutuan Kuala Lumpur
    รัฐเซอลาโงร์
  • อำเภอกัวลาลัมเปอร์
    (1972–1974)

  ดินแดนสหพันธ์

ศาลาว่าการนครกัวลาลัมเปอร์
Dewan Bandaraya Kuala Lumpur
1 กุมภาพันธ์ 1972
โดยอับดุล ฮาลิม แห่งรัฐเกอดะฮ์,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 5,
ในฐานะ นครกัวลาลัมเปอร์
1,982,112 [4]
   
อีโปะฮ์
นครอีโปะฮ์
Bandaraya Ipoh
    รัฐเประ สภานครอีโปะฮ์
Majlis Bandaraya Ipoh
27 พฤษภาคม 1988
โดยอัซลัน ชะฮ์แห่งรัฐเประ,
สุลต่านแห่งรัฐเประองค์ที่ 34,
ในฐานะ นครอีโปะฮ์
759,952 [5]
   
กูจิง
นครกูจิง
Bandaraya Kuching
    รัฐซาราวัก ศาลาว่าการนครกูจิงเหนือ
Suruhanjaya Dewan Bandaraya Kuching Utara
1 สิงหาคม 1988
โดยอิซกันดาร์แห่งรัฐยะโฮร์,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 8,
ในฐานะ นครกูจิง
349,147 [6]
 
สภานครกูจิงใต้
Majlis Bandaraya Kuching Selatan
 
โจโฮร์บะฮ์รู
นครโจโฮร์บะฮ์รู
Bandaraya Johor Bahru
    รัฐยะโฮร์ สภานครโจโฮร์บะฮ์รู
Majlis Bandaraya Johor Bahru
1 มกราคม 1994
โดยอิซกันดาร์แห่งรัฐยะโฮร์,
สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์องค์ที่ 24,
ในฐานะ นครโจโฮร์บะฮ์รู
858,118 [7]
   
ปูตราจายา
ดินแดนสหพันธ์ปูตราจายา
Wilayah Persekutuan Putrajaya
    ดินแดนสหพันธ์ บริษัทปูตราจายา
Perbadanan Putrajaya
1 ตุลาคม 1995
โดยจาฟาร์แห่งรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 10,
ในฐานะ ดินแดนสหพันธ์ปูตราจายา
109,202
   
โกตากีนาบาลู
นครโกตากีนาบาลู
Bandaraya Kota Kinabalu
    รัฐซาบะฮ์ ศาลาว่าการนครโกตากีนาบาลู
Dewan Bandaraya Kota Kinabalu
2 กุมภาพันธ์ 2000
โดยซาลาฮุดดีนแห่งรัฐเซอลาโงร์,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 11,
ในฐานะ นครโกตากีนาบาลู
500,425 [8]
   
ชะฮ์อาลัม
นครชะฮ์อาลัม
Bandaraya Shah Alam
    รัฐเซอลาโงร์ สภานครชะฮ์อาลัม
Majlis Bandaraya Shah Alam
10 ตุลาคม 2000
โดยซีราจุดดินแห่งรัฐปะลิส,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 12,
ในฐานะ นครชะฮ์อาลัม
541,306 [9]
   
มะละกา
นครมะละกา
Bandaraya Melaka
    รัฐมะละกา สภานครมะละกา
Majlis Bandaraya Melaka
15 เมษายน 2003
โดยซีราจุดดินแห่งรัฐปะลิส,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 12,
ในฐานะ นครมะละกา
453,904 [10]
 
อาโลร์เซอตาร์
นครอาโลร์เซอตาร์
Bandaraya Alor Setar
    รัฐเกอดะฮ์ สภานครอาโลร์เซอตาร์
Majlis Bandaraya Alor Setar
21 ธันวาคม 2003
โดยซีราจุดดินแห่งรัฐปะลิส,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 12,
ในฐานะ นครอาโลร์เซอตาร์
423,868 [11]
   
มีรี
นครมีรี
Bandaraya Miri
    รัฐซาราวัก สภานครมีรี
Majlis Bandaraya Miri
20 พฤษภาคม 2005
โดยอาบัง มูฮัมมัด ซาลาฮุดดิน,
ผู้ว่าการรัฐซาราวักคนที่ 6,
ในฐานะ นครมีรี
248,877 [12][6]
 
เปอตาลิงจายา
นครเปอตาลิงจายา
Bandaraya Petaling Jaya
    รัฐเซอลาโงร์ สภานครเปอตาลิงจายา
Majlis Bandaraya Petaling Jaya
20 มิถุนายน 2006
โดยชาราฟุดดินแห่งรัฐเซอลาโงร์,
สุลต่านแห่งรัฐเซอลาโงร์องค์ที่ 9,
ในฐานะ นครเปอตาลิงจายา
613,977 [13][9]
 
กัวลาเตอเริงกานู
นครกัวลาเตอเริงกานู
Bandaraya Kuala Terengganu
    รัฐตรังกานู สภานครกัวลาเตอเริงกานู
Majlis Bandaraya Kuala Terengganu
1 มกราคม 2008
โดยเติงกู มูฮัมมัด อิซมาอิล,
มกุฎราชกุมารแห่งรัฐตรังกานู,
ในฐานะ นครกัวลาเตอเริงกานู
426,500 [14][15]
   
อิซกันดาร์ปูเตอรี
นครอิซกันดาร์ปูเตอรี
Bandaraya Iskandar Puteri
    รัฐยะโฮร์ สภานครอิซกันดาร์ปูเตอรี
Majlis Bandaraya Iskandar Puteri
22 พฤศจิกายน 2017
โดยอิบราฮิม อิซมาอิลแห่งรัฐยะโฮร์,
สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์องค์ที่ 25,
ในฐานะ นครอิซกันดาร์ปูเตอรี
575,977 [16][7]
เซอเบอรังเปอไร
นครเซอเบอรังเปอไร
Bandaraya Seberang Perai
    รัฐปีนัง สภานครเซอเบอรังเปอไร
Majlis Bandaraya Seberang Perai
16 กันยายน 2019
โดยอับดุล ระฮ์มัน อับบาซ,
ผู้ว่าการรัฐปีนังคนที่ 7,
ในฐานะ นครเซอเบอรังเปอไร
946,092 [17][18][3]
   
เซอเริมบัน
นครเซอเริมบัน
Bandaraya Seremban
    เนอเกอรีเซิมบีลัน สภานครเซอเริมบัน
Majlis Bandaraya Seremban
1 มกราคม 2020
โดยมุฮ์ริซแห่งรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน,
ยัมตวนเบอซาร์คนที่ 11,
ในฐานะ นครเซอเริมบัน
681,541 [19][20][21]
 
ซูบังจายา
นครซูบังจายา
Bandaraya Subang Jaya
    รัฐเซอลาโงร์ สภานครซูบังจายา
Majlis Bandaraya Subang Jaya
20 ตุลาคม 2020
โดยชาราฟุดดินแห่งรัฐเซอลาโงร์,
สุลต่านแห่งรัฐเซอลาโงร์องค์ที่ 9,
ในฐานะ นครซูบังจายา
771,687 [22][9]
ปาซีร์กูดัง
นครปาซีร์กูดัง
Bandaraya Pasir Gudang
    รัฐยะโฮร์ สภานครปาซีร์กูดัง
Majlis Bandaraya Pasir Gudang
22 พฤศจิกายน 2020
โดยอิบราฮิม อิซมาอิลแห่งรัฐยะโฮร์,
สุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์องค์ที่ 25,
ในฐานะ นครปาซีร์กูดัง
312,437 [23][7]
   
กวนตัน
นครกวนตัน
Bandaraya Kuantan
    รัฐปะหัง สภานครกวนตัน
Majlis Bandaraya Kuantan
21 กุมภาพันธ์ 2021
โดยอับดุลละฮ์แห่งรัฐปะหัง,
ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 16,
ในฐานะ นครกวนตัน
548,014 [24][25]

อดีต

แก้
ข้อมูลทั่วไป เขตบริหาร หมายเหตุ
ชื่อ ภาพ รัฐ การปกครองส่วนท้องถิ่น วันที่ประกาศ วันที่ยุบเลิก
ธง ตรา
สิงคโปร์
นครสิงคโปร์
Bandaraya Singapura
    รัฐสิงคโปร์ สภานครสิงคโปร์
Majlis Bandaraya Singapura
22 กันยายน 1951
โดยจอร์จที่ 6,
พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร,
ในฐานะ นครสิงคโปร์
9 สิงหาคม 1965
(ถูกขับออกจากมาเลเซีย)
[26][27][28][29]

เกณฑ์

แก้

เกณฑ์พื้นฐานล่าสุด (2008) ในการให้สถานะนครแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคือ มีประชากรขั้นต่ำ 500,000 คน และมีรายได้ต่อปีไม่น้อยกว่า 100 ล้านริงกิต[30]

ตำแหน่งที่ตั้งของนคร

แก้

ประชากร

แก้

กัวลาลัมเปอร์เป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซีย รองลงมาคือจอร์จทาวน์ เมืองหลวงของรัฐปีนัง เมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองในมาเลเซีย และเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ส่วนทางทิศใต้ มีนครคู่แฝดคือ โจโฮร์บะฮ์รู และอิซกันดาร์ปูเตอรี ซึ่งรวมกันเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศ เขตมหานครอื่น ๆ ที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน ได้แก่ อีโปะฮ์ กูจิง และโกตากีนาบาลู

ตารางต่อไปนี้จะแสดงรายชื่อเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซียเรียงตามจำนวนประชากร

 
นครและเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
กระทรวงสถิติ, ประเทศมาเลเซีย (2563) [1]
อันดับ ชื่อ รัฐ ประชากร อันดับ ชื่อ รัฐ ประชากร
 
กัวลาลัมเปอร์
 
กาจัง
1 กัวลาลัมเปอร์ ดินแดนสหพันธ์ 1,982,112 11 อีโปะฮ์ รัฐเประ 759,952  
เซอเบอรังเปอไร
 
ซูบังจายา
2 กาจัง รัฐเซอลาโงร์ 1,047,356 12 เซอเริมบัน รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน 681,541
3 เซอเบอรังเปอไร รัฐปีนัง 946,092 13 อิซกันดาร์ปูเตอรี รัฐยะโฮร์ 575,977
4 ซูบังจายา รัฐเซอลาโงร์ 902,086 14 กวนตัน รัฐปะหัง 548,014
5 กลัง รัฐเซอลาโงร์ 902,025 15 ซูไงเปอตานี รัฐเกอดะฮ์ 545,053
6 โจโฮร์บะฮ์รู รัฐยะโฮร์ 858,118 16 อัมปังจายา รัฐเซอลาโงร์ 531,904
7 ชะฮ์อาลัม รัฐเซอลาโงร์ 812,327 17 โกตากีนาบาลู รัฐซาบะฮ์ 500,425
8 จอร์จทาวน์ รัฐปีนัง 794,313 18 มะละกา รัฐมะละกา 453,904
9 เปอตาลิงจายา รัฐเซอลาโงร์ 771,687 19 ซันดากัน รัฐซาบะฮ์ 439,050
10 เซอลายัง รัฐเซอลาโงร์ 764,327 20 อาโลร์เซอตาร์ รัฐเกอดะฮ์ 423,868

อ้างอิง

แก้
  1. Tan 2014.
  2. Bulletin Mutiara 2015, p. 24.
  3. 3.0 3.1 Malaysian Department of Statistics 2022h, p. 96.
  4. Malaysian Department of Statistics 2022, p. 75.
  5. Malaysian Department of Statistics 2022g, p. 97.
  6. 6.0 6.1 Malaysian Department of Statistics 2022j, p. 123.
  7. 7.0 7.1 7.2 Malaysian Department of Statistics 2022c, p. 95.
  8. Malaysian Department of Statistics 2022i, p. 98.
  9. 9.0 9.1 9.2 Malaysian Department of Statistics 2022k, p. 97.
  10. Malaysian Department of Statistics 2022d, p. 93.
  11. Malaysian Department of Statistics 2022b, p. 97.
  12. Then 2005.
  13. The Star 2006.
  14. Murali 2008.
  15. Malaysian Department of Statistics 2022l, p. 94.
  16. State Government of Johor 2017, p. 117.
  17. Hilmy 2019.
  18. The Star 2019.
  19. Singh 2020.
  20. Seremban City Council 2019.
  21. Malaysian Department of Statistics 2022e, p. 95.
  22. Ch'ng 2020.
  23. Rizalman 2020.
  24. The Star & Bernama 2021.
  25. Malaysian Department of Statistics 2022f, p. 94.
  26. National Library Board 2004.
  27. National Library Board 2014.
  28. The Straits Times 1951.
  29. The Straits Times 1951a.
  30. "Criteria Status for Local Authority". Local Government Department. 30 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2015. สืบค้นเมื่อ 24 April 2012.

บรรณานุกรม

แก้

เอกสารราชการและประกาศ

แก้

สถิติที่รัฐบาลเผยแพร่

แก้

บทความจากนิตยสาร หนังสือพิมพ์ และเว็บไซต์

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้