มะละกา (เมือง)

เมืองหลวงของรัฐมะละกา ประเทศมาเลเซีย

มะละกา[4] หรือ เมอลากา[4] (มลายู: Melaka) เป็นเมืองเอกของรัฐมะละกา ประเทศมาเลเซีย ในอดีตที่นี่เป็นเมืองท่าสำคัญที่เติบโตจนกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นเส้นทางเดินเรือค้าขายระหว่างชาติตะวันตกและตะวันออก[5] ต่อมามะละกาได้ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกทั้งโปรตุเกส, เนเธอร์แลนด์ และอังกฤษ[5] อาคารในมะละกาจึงมีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมท้องถิ่นกับเจ้าอาณานิคมนั้น ๆ ซึ่งในปัจจุบันได้กลายมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ[5]

มะละกา

Melaka
นครและเมืองหลวงของรัฐ
นครมะละกา
Bandaraya Melaka
บันดาร์รายาเมอลากา
สถานที่ต่าง ๆ ในนครมะละกา
ตราอย่างเป็นทางการของมะละกา
ตรา
สมญา: 
บันดาร์รายาเบอร์เซอจาระฮ์
เมืองประวัติศาสตร์
มะละกาตั้งอยู่ในมาเลเซียตะวันตก
มะละกา
มะละกา
ที่ตั้งในคาบสมุทรมลายู
มะละกาตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
มะละกา
มะละกา
ที่ตั้งในมาเลเซีย
พิกัด: 02°11′40″N 102°14′55″E / 2.19444°N 102.24861°E / 2.19444; 102.24861
ประเทศธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
รัฐรัฐมะละกา มะละกา
ก่อตั้งค.ศ. 1396
สถานะนครค.ศ. 2003
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีไซนัล ฮุสซิน
พื้นที่[1]
 • นครและเมืองหลวงของรัฐ304.29 ตร.กม. (117.49 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,664 ตร.กม. (642 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)[3]
 • นครและเมืองหลวงของรัฐ503,127 คน
 • ความหนาแน่น689 คน/ตร.กม. (1,780 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล771,600 [2] คน
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย)
เว็บไซต์www.mbmb.gov.my

เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2008 มะละกาและจอร์จทาวน์ถูกขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการ เนื่องจากมีภูมิสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่ไม่ซ้ำใครทั้งในตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[6]

อ้างอิง

แก้
  1. Melaka State Government - About Melaka: Melaka Basic Data[ลิงก์เสีย]
  2. "Seremban Urban Area" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-30. สืบค้นเมื่อ 2013-03-02.
  3. "Laporan Kiraan Permulaan 2010". Jabatan Perangkaan Malaysia. p. iii. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-27. สืบค้นเมื่อ 31 January 2011.
  4. 4.0 4.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  5. 5.0 5.1 5.2 "นั่งสามล้อดอกไม้ในเมืองมรดกโลก "มะละกา"" (Press release). ASTVผู้จัดการออนไลน์. 10 ตุลาคม 2555. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-06. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2556. {{cite press release}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "Eight new sites, from the Straits of Malacca, to Papua New Guinea and San Marino, added to UNESCO's World Heritage List". UNESCO. 2008-07-07. สืบค้นเมื่อ 2008-07-07.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Melaka