กัรบะลาอ์ (อาหรับ: كَرْبَلَاء)[ม 1] บ้างก็อ่าน คาร์บาลา หรือ เคอร์บาลา เป็นนครทางตอนกลางของประเทศอิรัก ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของแบกแดดประมาณ 100 กิโลเมตร (62 ไมล์) และไม่กี่ไมล์ทางตะวันออกของทะเลสาบมิลห์[2][3] กัรบะลาอ์เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการกัรบะลาอ์ และคาดการณ์ว่ามีประชากรประมาณ 1,218,732 คน (2018)

กัรบะลาอ์

كَرْبَلَاء
Mayoralty of Karbala
กัรบะลาอ์ตั้งอยู่ในประเทศอิรัก
กัรบะลาอ์
กัรบะลาอ์
ที่ตั้งของกัรบะลาอ์ในประเทศอิรัก
พิกัด: 32°37′N 44°02′E / 32.617°N 44.033°E / 32.617; 44.033พิกัดภูมิศาสตร์: 32°37′N 44°02′E / 32.617°N 44.033°E / 32.617; 44.033
ประเทศ อิรัก
เขตผู้ว่าการกัรบะลาอ
ตั้งถิ่นฐานค.ศ. 690
การปกครอง
 • ประเภทนายก–สภา
พื้นที่
 • ทั้งหมด42.4 ตร.กม. (16.4 ตร.ไมล์)
ความสูง28 เมตร (92 ฟุต)
ประชากร
 • ประมาณ 
(ค.ศ. 2018)
1,218,732[1] คน
 • อันดับที่ 1
เขตเวลาUTC+3 (เวลามาตรฐานอาหรับ)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (ไม่มี)
รหัสไปรษณีย์10001 ถึง 10090

นครนี้เป็นที่รู้จักจากการเป็นที่ตั้งของยุทธการที่กัรบะลาอ์ใน ค.ศ. 680 หรือจากศาลเจ้าฮุซัยน์และอัลอับบาส[4][5] ในทัศนะของมุสลิมชีอะฮ์ นครนี้ถือเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์เทียบเท่ากับมักกะฮ์, มะดีนะฮ์ และเยรูซาเลม โดยมีมุสลิมนิกายชีอะฮ์เข้าเมืองนี้หลายสิบล้านคนในสองครั้งต่อปี ซึ่งจำนวนสูสีกับจำนวนผู้แสวงบุญในมักกะฮ์กับแมชแฮดทุกปี[6][7][8][9] การพลีชีพของฮุซัยน์ อิบน์ อะลีได้รับการรำลึกจากชีอะฮ์ชีอะฮ์หลายล้านคนทุกปี[6][7][8][10]

ทุก ๆ ปี 40 วันหลังจากวันอาชูรออ์ ผู้คนจะหลั่งไหลมาเยี่ยมเยียนสุสานของฮุซัยน์บุตรอะลีในพิธีอัรบะอีน

ภูมิอากาศ แก้

เมืองกัรบะลาอ์มีสภาพภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง ซึ่งในฤดูร้อนจะมีอากาศร้อนจัดและในฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวจัด ฝนที่ตกในแต่ละปีจะอยู่ในห้วงเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายนซึ่งเป็นฤดูหนาว

ข้อมูลภูมิอากาศของกัรบะลาอ์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 15.7
(60.3)
18.8
(65.8)
23.6
(74.5)
30.6
(87.1)
36.9
(98.4)
41.5
(106.7)
43.9
(111)
43.6
(110.5)
40.2
(104.4)
33.3
(91.9)
23.7
(74.7)
17.6
(63.7)
30.78
(87.41)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 10.6
(51.1)
12.9
(55.2)
17.4
(63.3)
23.9
(75)
29.7
(85.5)
33.9
(93)
36.4
(97.5)
35.9
(96.6)
32.3
(90.1)
26.2
(79.2)
17.7
(63.9)
12.3
(54.1)
24.1
(75.38)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 5.4
(41.7)
7.0
(44.6)
11.2
(52.2)
17.1
(62.8)
22.5
(72.5)
26.3
(79.3)
28.8
(83.8)
28.2
(82.8)
24.3
(75.7)
19.0
(66.2)
11.6
(52.9)
6.9
(44.4)
17.36
(63.25)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 17.6
(0.693)
14.3
(0.563)
15.7
(0.618)
11.5
(0.453)
3.5
(0.138)
0.1
(0.004)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.3
(0.012)
4.1
(0.161)
10.5
(0.413)
15.3
(0.602)
92.9
(3.657)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 7 5 6 5 3 0 0 0 0 4 5 7 42
แหล่งที่มา: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (UN)[11]

หมายเหตุ แก้

  1. กัร ในที่นี้ไม่อ่าน กัน แต่อ่านออกเสียงเป็น การ์ แต่ตัดให้เสียงสระอะสั้นลง

อ้างอิง แก้

  1. "Iraq: Governorates, Regions & Major Cities – Population Statistics in Maps and Charts".
  2. "Iraq: Livelihoods at risk as level of Lake Razaza falls". IRIN News. 5 March 2008. สืบค้นเมื่อ 25 November 2015.
  3. Under Fire: Untold Stories from the Front Line of the Iraq War. Reuters Prentice Hall. January 2004. p. 15. ISBN 978-0-13-142397-8.
  4. Shimoni & Levine, 1974, p. 160.
  5. Aghaie, 2004, pp. 10–11.
  6. 6.0 6.1 Malise Ruthven (2006). Islam in the World. Oxford University Press. p. 180. ISBN 9780195305036.
  7. 7.0 7.1 David Seddon (11 Jan 2013). Political and Economic Dictionary of the Middle East. Karbala (Kerbala): Routledge. ISBN 9781135355616.
  8. 8.0 8.1 John Azumah; Dr. Kwame Bediako (Foreward) (26 May 2009). My Neighbour's Faith: Islam Explained for African Christians. Main Divisions and Movements Within Islam: Zondervan. ISBN 9780310574620.
  9. Paul Grieve (2006). A Brief Guide to Islam: History, Faith and Politics: The Complete Introduction. Carroll and Graf Publishers. p. 212. ISBN 9780786718047.
  10. Paul Grieve (2006). A Brief Guide to Islam: History, Faith and Politics : the Complete Introduction. Carroll and Graf Publishers. p. 212. ISBN 9780786718047.
  11. "World Weather Information Service – Karbala". United Nations. สืบค้นเมื่อ 1 January 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้