เหรินหมินปี้

(เปลี่ยนทางจาก RMB)

เหรินหมินปี้ (จีนตัวย่อ: 人民币 ; จีนตัวเต็ม: 人民幣 ; พินอิน: rénmínbì ; ตามตัวอักษรหมายถึง "เงินตราของประชาชน") เป็นเงินตราอย่างเป็นทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน ออกโดย ธนาคารประชาชนแห่งชาติจีน (People's Bank of China) ซึ่งเป็นหน่วยงานทางด้านเงินตราของ จีนแผ่นดินใหญ่ ตัวย่อใน ISO 4217 คือ CNY

เหรินหมินปี้
人民币
ภาพด้านหน้าของธนบัตรหยวนเหรินหมินปี้ใบละ 1 หยวน
(แสดงภาพประธานเหมา เจ๋อตุง)
ISO 4217
รหัสCNY
หมายเลข156
จุดทศนิยม2
การตั้งชื่อ
หน่วยย่อย
 1หยวน ()
1/10เจียว ()
1/100เฟิน ()
พหูพจน์ภาษาของสกุลเงินนี้ไม่มีโครงสร้างพหูพจน์ที่แตกต่างกัน
สัญลักษณ์元 / ¥
 หยวน ()ไคว่ ()
 เจียว ()เหมา ()
ธนบัตร
 ใช้บ่อยRMB 0.1, RMB 0.5, RMB 1, RMB 5, RMB 10, RMB 20, RMB 50, RMB 100
เหรียญ
 ใช้บ่อยRMB 0.1, RMB 0.5, RMB 1 (1, 5 角;1 元)
 ไม่ค่อยใช้RMB 0.01, RMB 0.02, RMB 0.05 (1, 2, 5 分)
ข้อมูลการใช้
ผู้ใช้อย่างเป็นทางการจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่)
ผู้ใช้ที่ไม่เป็นทางการInternational Monetary Fund
 มาเก๊า
 ฮ่องกง[1]
 ลาว
 กัมพูชา
 เกาหลีเหนือ[1]
 พม่า[2]
 เนปาล
 เวียดนาม (China–Vietnam border)
 ซิมบับเว[3][4]
การตีพิมพ์
ธนาคารกลางธนาคารประชาชนจีน
 เว็บไซต์www.pbc.gov.cn
เจ้าของโรงพิมพ์China Banknote Printing and Minting Corporation
 เว็บไซต์www.cbpm.cn
โรงพิมพ์ธนบัตรChina Banknote Printing and Minting Corporation
 เว็บไซต์www.cbpm.cn
การประเมินค่า
อัตราเงินเฟ้อ2.5%, January 2017
 ที่มา[1]
 วิธีCPI
ผูกค่ากับส่วนหนึ่งเป็นสกุลเงินต่างประเทศที่ให้น้ำหนักแบบทางการค้า (Trade-weighted basket)
ภาพด้านหน้าของธนบัตรใบละ 5 เจี่ยว

หน่วยเงินของเหรินหมินปี้ แก้

หน่วยเงินพื้นฐานของเหรินหมินปี้ คือ หยวน (yuán) โดยทั่วไปจะเขียนโดยใช้อักษร 元 แต่ตามแบบแผนแล้ว จะใช้ตัวอักษร 圆 เพื่อป้องกันการปลอมแปลง ในบางครั้งชื่อของเงินตรา (เหรินหมินปี้) ก็สับสนกับคำที่ใช้เรียกหน่วยเงิน (หยวน) และในบางโอกาส หยวนก็ถูกเรียกเป็น ดอลลาร์ และคำย่อ RMB¥ บางครั้งก็เขียนเป็น CN$

จีนกลาง อังกฤษ ไทย สัญลักษณ์/ตัวย่อ
ชื่อสกุลเงิน 人民币(rénmínbì) renminbi เหรินหมินปี้ CNY,RMB,CNH
ชื่อของ 1หน่วย 元,圆(yuán) yuan หยวน
ชื่อของ ​110 หน่วย 角 (jiǎo) jiao เจี่ยว
ชื่อของ ​1100 หน่วย 分 (fēn) fen เฟิน
ชื่ออื่นๆ Chinese yuan เงินหยวน ¥
ชื่อของ 1 หน่วย 块 (kuài) quay ไคว่
ชื่อของ ​110 หน่วย 毛 (máo) mao เหมา

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "RMB increases its influence in neighbouring areas". People's Daily. 17 February 2004. สืบค้นเมื่อ 13 January 2007.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-20. สืบค้นเมื่อ 2019-12-30.
  3. Hungwe, Brian. "Zimbabwe's multi-currency confusion". BBC. สืบค้นเมื่อ 2014-07-22.
  4. "Zimbabwe to make Chinese yuan legal currency after Beijing cancels debts". The Guardian. 2015-12-21. สืบค้นเมื่อ 2015-12-26.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้