เพลิงพระนาง (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539)

(เปลี่ยนทางจาก เพลิงพระนาง (พ.ศ. 2539))

เพลิงพระนาง เป็นละครโทรทัศน์ไทยในปี พ.ศ. 2539 โดยกันตนา ดัดแปลงเนื้อเรื่องบางส่วนจากหนังสือ เที่ยวเมืองพม่า พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหนังสือ พม่าเสียเมือง ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช[2][3] เป็นเรื่องราวสมมติแย่งชิงอำนาจกันจนนำไปสู่ความล่มสลายของบ้านเมือง ออกอากาศทางทาง ช่อง 5[4] นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ, ชไมพร จตุรภุช และปรียานุช ปานประดับ กำกับโดย อดุลย์ บุญบุตร[1]

เพลิงพระนาง
ประเภทพีเรียด ดรามา
สร้างโดยกันตนา[1]
เขียนโดยคม-แรเงา[1]
กำกับโดยอดุลย์ บุญบุตร[1]
แสดงนำสันติสุข พรหมศิริ
ชไมพร จตุรภุช
ปรียานุช ปานประดับ[1]
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดเพลิงพระนาง
ประเทศแหล่งกำเนิดประเทศไทย
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างประดิษฐ์ กัลย์จาฤก
ความยาวตอน60 นาที/ตอน
ออกอากาศ
เครือข่ายช่อง 5[1]

นักแสดง แก้

ตัวละคร ชื่อนักแสดง
เจ้าหลวงเมืองคุ้ม สันติสุข พรหมศิริ[1]
เจ้านางอนัญทิพย์ ชไมพร จตุรภุช[2][4]
เจ้านางเสกขรเทวี ปรียานุช ปานประดับ[2]
เจ้านางสำเภางาม ทาริกา ธิดาทิตย์
เจ้านางตองนวล ณหทัย พิจิตรา[2]
เจ้าม่านฟ้า พลังธรรม กล่อมทองสุข
เจ้านางปิ่นมณี วาสนา พูนผล
เจ้าครองภพ ปริญญา ปุ่นสกุล
เจ้าตองแปง วรวุฒิ นิยมทรัพย์
เจ้าปะแดง ณัฎฐพล กรรณสูต
เจ้านางเรณุมาศ เกวลิน คอตแลนด์
เจ้านางทองพญา ศิริพิชญ์ วิมลโนช
เจ้านางยอดพุ่ม จันทนี สิงห์สุวรรณ
เจ้าคะนอง ทนงศักดิ์ ศุภการ
เจ้านางเครือออน ทิพย์ ธรรมศิริ
เจ้านางริมบึง พรสุดา ต่ายเนาว์คง
เจ้าน้อยอินทา กษมา นิสสัยพันธ์
เจ้านางมณีหยาด มยุรฉัตร สุทธิณี
เจ้านางเก็จถวา ปัทมา ปานทอง[2]
เจ้านางแก้วอากาศ เสาวลักษณ์ ศรีอรัญญ์
ท้าววงษา ถนอม นวลอนันต์
ขุนเวียง สุชีพ ชัยสิทธิ์
ท้าวเฟื้อแฝง อภิพงษ์ ผะเดิมชิต
นางเฟือง ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล
นางบัวใหล ธัญญาพร รักมาก
เจ้าบุรพคาม ทองขาว ภัทรโชคชัย
เจ้าหลวงปิตุลา แรม วรธรรม
เจ้าเมืองมีด ครรชิต ขวัญประชา
เจ้าเมืองท่าคอย ราม ราชพงษ์
เจ้านางเรือนแก้ว ยุวดี เรืองฉาย
ตนบุญ โยธิน มาพบพันธ์
นางอุ่นคำ น้อย โพธิ์งาม
ขุนแสงตา ปรีชา เกตุคำ
เจ้านางม่านแก้ว ฉันทนา กิติยพันธ์
เจ้านางม่านทิพย์ สุดา ชื่นบาน
เจ้าเมืองสิงห์ มานพ อัศวเทพ
เจ้านางคำจันทร์ ดาเรศ อมลัษเฐียร
ขุนวัง จิตติน ดิษยนิยม
ขุนคลัง คมกฤช ยุตติยงค์

รางวัล แก้

ปี พ.ศ. รางวัล สาขา ผล อ้างอิง
2539 รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 11 เพลงนำละครดีเด่น ชนะ [5]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 อวิรุทธ์ สิริโสภณา. "การประกอบสร้างความหมายของผู้หญิงที่ถ่ายทอดผ่านตัวละครหญิงในละครโทรทัศน์ไทยยอดนิยมที่ถูกผลิตซ้ำ ระหว่างปี พ.ศ. 2530–2560". สืบค้นเมื่อ 2022-07-12.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "ย้อนชมภาพ'เพลิงพระนาง' ปี 2539 พร้อมภาพเทียบนักแสดงเวอร์ชั่นใหม่ บอกเลยยุคไหนก็ปัง!". มติชนออนไลน์. 2017-02-19. สืบค้นเมื่อ 2022-07-12.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. ปิ่น บุตรี (2017-02-25). ""เพลิงพระนาง"...บนรอยทางประวัติศาสตร์สุดดราม่าที่ "มัณฑะเลย์"/ปิ่น บุตรี". mgronline.com. สืบค้นเมื่อ 2022-07-12.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. 4.0 4.1 "ข้าจะไปหอคำ! 10 เรื่องต้องรู้ 'เพลิงพระนาง' ละครที่โดนร้องให้หยุดฉาย!". www.thairath.co.th. 2017-03-13. สืบค้นเมื่อ 2022-07-12.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. "เปรียบกายร้อนดั่งเพลิง..! พร้อมหรือยัง อั้ม-พัชราภา นำทีมเพลิงพระนาง ฉายตอนแรกแล้ววันนี้". Praew. 2017-02-17. สืบค้นเมื่อ 2022-07-13.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)