เทศบาลเมืองระนอง
ระนอง เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งที่เป็นเมืองศูนย์กลางของอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เทศบาลมีพื้นที่ครอบคลุมตำบลเขานิเวศน์ทั้งตำบล ได้ยกฐานะจากสุขาภิบาลระนองเป็นเทศบาลเมือง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2479 โดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองระนอง[2] ซึ่งขณะนั้นมีรายได้ประมาณ 30,000 บาทต่อปี[3]
เทศบาลเมืองระนอง | |
---|---|
การถอดเสียงอักษรโรมัน | |
• อักษรโรมัน | Thetsaban Mueang Ranong |
ถนนในเมืองระนอง | |
พิกัด: 9°57′43″N 98°38′20″E / 9.96194°N 98.63889°E | |
ประเทศ | ไทย |
จังหวัด | ระนอง |
อำเภอ | เมืองระนอง |
จัดตั้ง | 14 มีนาคม 2479 (เทศบาลเมือง) |
การปกครอง | |
• นายกเทศมนตรี | พินิจ ตันกุล |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 4.285 ตร.กม. (1.654 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561)[1] | |
• ทั้งหมด | 18,720 คน |
• ความหนาแน่น | 4,368.72 คน/ตร.กม. (11,314.9 คน/ตร.ไมล์) |
รหัส อปท. | 04850102 |
ที่อยู่ สำนักงาน | 36 ถนนเพิ่มผล ตำบลเขานิเวศน์ อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง 85000 |
เว็บไซต์ | www |
ภูมิศาสตร์
แก้ที่ตั้งและอาณาเขต
แก้เทศบาลเมืองระนองตั้งอยู่ในอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลเขานิเวศน์ทั้งตำบล มีเนื้อที่ 4.285 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้[3]
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเทศบาลตำบลบางนอน
- ทิศใต้ ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น เทศบาลตำบลบางนอน และองค์การบริหารส่วนตำบลหาดส้มแป้น
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทศบาลเมืองบางริ้น และเทศบาลตำบลปากน้ำท่าเรือ
ภูมิประเทศ
แก้เมืองระนองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำกระบุรี หรือแม่น้ำปากจั่น อยู่ตรงข้ามกันกับวิกตอเรียพอยต์ของประเทศพม่า มีเทือกเขาตะนาวศรีพาดผ่านทางตะวันออกของเมือง และมีสันเขาเล็ก ๆ พาดผ่านจากบริเวณปากน้ำไปทางทิศเหนือของเมือง
ภูมิอากาศ
แก้เมืองระนองมีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (เคิพเพิน Am) โดยมีความแปรผันของอุณหภูมิเพียงเล็กน้อย
ข้อมูลภูมิอากาศของระนอง (1981–2010) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 36.4 (97.5) |
38.3 (100.9) |
39.6 (103.3) |
39.1 (102.4) |
38.7 (101.7) |
35.3 (95.5) |
34.8 (94.6) |
34.0 (93.2) |
34.5 (94.1) |
35.2 (95.4) |
35.4 (95.7) |
35.0 (95) |
39.6 (103.3) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 32.8 (91) |
34.1 (93.4) |
35.0 (95) |
34.6 (94.3) |
32.4 (90.3) |
31.2 (88.2) |
30.8 (87.4) |
30.5 (86.9) |
30.5 (86.9) |
31.0 (87.8) |
31.4 (88.5) |
31.7 (89.1) |
32.2 (90) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 26.7 (80.1) |
27.5 (81.5) |
28.4 (83.1) |
28.8 (83.8) |
27.7 (81.9) |
27.3 (81.1) |
26.9 (80.4) |
26.8 (80.2) |
26.4 (79.5) |
26.4 (79.5) |
26.5 (79.7) |
26.3 (79.3) |
27.1 (80.8) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 21.9 (71.4) |
22.2 (72) |
23.4 (74.1) |
24.6 (76.3) |
24.7 (76.5) |
24.5 (76.1) |
24.3 (75.7) |
24.2 (75.6) |
23.9 (75) |
23.6 (74.5) |
23.3 (73.9) |
22.4 (72.3) |
23.6 (74.5) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 16.5 (61.7) |
16.1 (61) |
18.5 (65.3) |
19.8 (67.6) |
22.3 (72.1) |
21.8 (71.2) |
21.4 (70.5) |
21.6 (70.9) |
21.4 (70.5) |
20.2 (68.4) |
19.3 (66.7) |
16.5 (61.7) |
16.1 (61) |
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) | 10.0 (0.394) |
16.0 (0.63) |
65.2 (2.567) |
152.6 (6.008) |
496.6 (19.551) |
649.4 (25.567) |
620.7 (24.437) |
789.1 (31.067) |
646.5 (25.453) |
424.5 (16.713) |
151.3 (5.957) |
45.5 (1.791) |
4,068.4 (160.173) |
ความชื้นร้อยละ | 72 | 70 | 71 | 76 | 83 | 84 | 85 | 86 | 86 | 85 | 80 | 75 | 79 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 3.3 | 3.5 | 6.5 | 11.8 | 23.8 | 24.4 | 25.5 | 27.4 | 25.2 | 23.8 | 14.5 | 5.8 | 195.5 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 232.5 | 214.7 | 201.5 | 183.0 | 155.0 | 114.0 | 114.7 | 114.7 | 108.0 | 145.7 | 174.0 | 195.3 | 1,953.1 |
แหล่งที่มา 1: กรมอุตุนิยมวิทยา[4] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department (sun and humidity)[5] |
อ้างอิง
แก้- ↑ "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2561 ท้องถิ่นเทศบาลเมืองระนอง". ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองระนอง จังหวัดระนอง พุทธศักราช ๒๔๗๙" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 53: 1309–1314. 14 มีนาคม 2479.
- ↑ 3.0 3.1 "สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญของเทศบาลเมืองระนอง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-04-28.
- ↑ "Climatological Data for the Period 1981–2010". Thai Meteorological Department. pp. 26–27. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.
- ↑ "ปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิงโดยวิธีของ Penman Monteith (Reference Crop Evapotranspiration by Penman Monteith)" (PDF). Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department. p. 105. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-01. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.