อัรมันต์ (ประเทศอียิปต์)
อัรมันต์ (อาหรับ: أرمنت; ภาษาอียิปต์ jwnj, jwnj šm'j "เฮลิโอโปลิสใต้" หรือ jwnj-mntw "เฮลิโอโปลิสของชนร่อนเร่": (คอปติก: ⲉⲣⲙⲉⲛⲧ or ⲁⲣⲙⲁⲛⲑ ˈərməntʰ) และรู้จักกันในภาษากรีกคอยนีว่า เฮอร์มอนธีส (กรีกโบราณ: Ἑρμῶνθις)) เป็นเมืองที่อยู่ห่างจากทีบส์ไปทางใต้ประมาณ 12 ไมล์ โดยเป็นเมืองที่สำคัญในสมัยอาณาจักรกลาง ซึ่งถูกขยายในช่วงราชวงศ์ที่สิบแปด ปัจจุบันตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ในเขตผู้ว่าการลักศอร์
อัรมันต์ أرمنت | |
---|---|
อัรมันต์ที่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ | |
พิกัด: 25°37′N 32°32′E / 25.617°N 32.533°E | |
ประเทศ | อียิปต์ |
เขตผู้ว่าการ | ลักซอร์ |
เขตเวลา | UTC+2 (เวลามาตรฐานอียิปต์) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | +3 |
ประวัติ
แก้
| |||||
jwnw mnṯ(t)[1][2] ในไฮเออโรกลีฟอียิปต์ | |||||
---|---|---|---|---|---|
สมัย: สมัยปลาย (664–332 BC) | |||||
| |||||||||
jwnw šmꜥ(t)[2][1] ในไฮเออโรกลีฟอียิปต์ | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สมัย: สมัยปลาย (664–332 BC) | |||||||||
มอนตูเป็นเทพอียิปต์ที่รากศัพท์มีความหมายว่า "ร่อนเร่"[3][4] มอนตูมีส่วนเกี่ยวข้องกับวัวโกรธ, ความแข็งแกร่ง และสงคราม ทำให้นายพลกษัตริย์ที่ยอดเยี่ยมที่สุดแห่งอียิปต์กล่าวถึงตนเองเป็น โคที่ยิ่งใหญ่ บุตรแห่งมอนตู[5] ในการพรรณาถึงยุทธการที่กาเดช ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 ทอดพระเนตรศัตรูและ"ส่งโทสะใส่พวกเขาเหมือนมอนตู เจ้าแห่งทีบส์"[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Gauthier, Henri (1925). Dictionnaire des Noms Géographiques Contenus dans les Textes Hiéroglyphiques Vol. 1. pp. 54–55.
- ↑ 2.0 2.1 Wallis Budge, E. A. (1920). An Egyptian hieroglyphic dictionary: with an index of English words, king list and geological list with indexes, list of hieroglyphic characters, coptic and semitic alphabets, etc. Vol II. John Murray. p. 958.
- ↑ Wallis Budge, E. A. (1920). An Egyptian hieroglyphic dictionary : with an index of English words, king list and geological list with indexes, list of hieroglyphic characters, coptic and semitic alphabets, etc. - Vol I. John Murray. p. 306.
- ↑ Ruiz, Ana (2001). The Spirit of Ancient Egypt (ภาษาอังกฤษ). Algora Publishing. p. 115. ISBN 9781892941688.
- ↑ O'Connor, David; Cline, Eric H. (2001). Amenhotep III: Perspectives on His Reign (ภาษาอังกฤษ). University of Michigan Press. ISBN 978-0472088331.
- ↑ "Egyptian Accounts of the Battle of Kadesh". www.reshafim.org.il. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-01.