ตริวิษ (สันสกฤต: triviṣa; ทิเบต: dug gsum) หรือ อกุศลมูล (สันสกฤต: akuśala-mūla; บาลี: akusala-mūla) ในศาสนาพุทธสื่อถึงรากกิเลสทั้ง 3 คือ โมหะ, ราคะ และโทสะ[1][2] กิเลสทั้งสามถือเป็นรากของตัณหาและเป็นส่วนที่ก่อให้เกิดทุกข์และการกลับชาติมาเกิด[1][3]

อกุศลมูล 3 ในภวจักรแสดงเป็นรูปหมู ไก่ และงู

ในศิลปะศาสนาพุทธมักวาดอกุศลมูลที่ตรงกลางภวจักรเป็นไก่โต้ง งู และหมู ซึ่งเป็นตัวแทนราคะ โทสะ และโมหะตามลำดับ[4][5]

รายละเอียด แก้

ในคำสอนศาสนาพุทธ อกุศลมูลเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้สิ่งมีชีวิตติดอยู่ในสังสารวัฏ กล่าวกันว่าสามสิ่งนี้เป็นรากของกิเลสทั้งปวง[6][7] อกุศลมูลนำไปสู่การเกิดกรรม ซึ่งนำไปสู่การกลับชาติมาเกิดในดินแดนทั้ง 6 ในสังสารวัฏ[1][8][9]

ขั้วตรงข้าม แก้

เจตสิกที่ถือเป็นฝั่งตรงข้ามของอกุศลมูลคือ:[10][11]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Robert E. Buswell Jr.; Donald S. Lopez Jr. (2013). The Princeton Dictionary of Buddhism. Princeton University Press. pp. 546, 59, 68. ISBN 978-1-4008-4805-8.
  2. Damien Keown (2004). A Dictionary of Buddhism. Oxford University Press. pp. 8, 47, 89, 106, 143. ISBN 978-0-19-157917-2.
  3. David Webster (2005). The Philosophy of Desire in the Buddhist Pali Canon. Routledge. pp. 100–105, 177, 236. ISBN 978-0-415-34652-8.
  4. David Loy (2003). The Great Awakening: A Buddhist Social Theory. Simon and Schuster. p. 28. ISBN 978-0-86171-366-0.
  5. Guido Freddi (2019). "Bhavacakra and Mindfulness". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  6. Daniel Goleman (2003), pages 106, 111
  7. Khenchen Konchog Gyaltshen (2010), p. 451.
  8. David Webster (2005). The Philosophy of Desire in the Buddhist Pali Canon. Routledge. pp. 100–105, 177, 236. ISBN 978-0-415-34652-8.
  9. Dalai Lama (1992), p. 4, 42
  10. Gethin 1998, p. 81.
  11. Steven M. Emmanuel (2015). A Companion to Buddhist Philosophy. John Wiley & Sons. pp. 435–436. ISBN 978-1-119-14466-3.

ข้อมูล แก้

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้