สี่แพร่ง
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
สี่แพร่ง (อังกฤษ: 4 Bia) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญแบบรวมตอน ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, บรรจง ปิสัญธนะกุล นำแสดงโดย มณีรัตน์ คำอ้วน, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, วิทวัส สิงห์ลำพอง, อภิญญา สกุลเจริญสุข, ชล วจนานนท์, ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ และ กันตพัฒน์ สีดา[1] ทำรายได้รวม 85 ล้านบาท[2]
สี่แพร่ง | |
---|---|
ใบปิดภาพยนตร์ | |
กำกับ | |
บทภาพยนตร์ |
|
อำนวยการสร้าง | |
นักแสดงนำ | |
กำกับภาพ | |
ดนตรีประกอบ | |
บริษัทผู้สร้าง | จอกว้าง ฟิล์ม |
ผู้จัดจำหน่าย | จีทีเอช |
วันฉาย | 24 เมษายน 2551 |
ความยาว | 112 นาที |
ประเทศ | ไทย |
ภาษา | ไทย |
ทำเงิน | 85 ล้านบาท[ต้องการอ้างอิง] |
ต่อจากนี้ |
|
ข้อมูลจากสยามโซน |
นักแสดง
แก้- มณีรัตน์ คำอ้วน รับบท ปิ่น (เหงา)
- วิโรจน์ เงาอำพันไพฑูรย์ รับบท หนุ่มออฟฟิศ (เหงา)
- อภิญญา สกุลเจริญสุข รับบท พิ้งค์ (ยันต์สั่งตาย)
- วิทวัส สิงห์ลำพอง รับบท เดียว (ยันต์สั่งตาย)
- ชล วจนานนท์ รับบท โยเกิร์ต (ยันต์สั่งตาย)
- ณัฏฐพงษ์ ชาติพงษ์ รับบท เต๋อ (คนกลาง)
- กันตพัฒน์ เพิ่มพูนพัชรสุข รับบท เอ (คนกลาง)
- พงศธร จงวิลาส รับบท เผือก (คนกลาง)
- วิวัฒน์ คงราศรี รับบท ชิน (คนกลาง)
- เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ รับบท พิมพ์ (เที่ยวบิน 224)
- ปรเมศร์ น้อยอ่ำ รับบท กัปตัน (เที่ยวบิน 224)
- Nada Lesongan รับบท เจ้าหญิงโซเฟีย (เที่ยวบิน 224)
ดีวีดี
แก้ดีวีดีเรื่อง สี่แพร่ง ออกวางจำหน่ายและผลิตเองโดย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และ แกรมมี่บิ๊ก ซึ่งเป็นผลงานการผลิตของทาง Raccoon City มีอยู่ 2 รูปแบบคือแบบธรรมดา (2 แผ่น) และLimited Edition ที่แถมสินค้าพรีเมี่ยมโมเดลเครื่องบิน (2 แผ่นเช่นกัน) มีระบบภาพเป็น Widescreen Anamorphic 1.85.1 ระบบเสียงเป็นไทย Dolby Digital 5.1,2.0
- แผ่นที่ 1
- ภาพยนตร์
- หลากหลายผู้คนพบกับที่สี่แพร่ง (Interview)
- แพร่งแห่งความ "กลัว" (Music Video)
- ภาพนิ่งทั้งสี่แพร่ง (Photo Gallery)
- ตัวอย่างภาพยนตร์ (Trailers)
- แผ่นที่ 2
- เบื้องหลังการถ่ายทำ (The Making)
- คุยภาพยนตร์สั้นขวัญผวา (Video Commentary)
- บางแพร่งที่หายไป (Deleted Scene)
- สื่อประชาสัมพันธ์ (Special VTRs)
เพลงประกอบภาพยนตร์
แก้รายได้
แก้หลังจากเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ สี่แพร่งสามารถมากเกิน 70 ล้านทาง GTH จึงได้จัดงาน กริ๊ดเกินคาด 4แพร่งแรงสู่ 70 ล้าน โดยรวมรายได้ทั้งหมดอยู่ที่ 85 ล้านบาท
รางวัลและการเข้าชิง
แก้รางวัลที่ได้รับ
แก้- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
- นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์)
เข้าชิงรางวัล
แก้- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (สี่แพร่ง)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, บรรจง ปิสัญธนะกูล, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, เอกสิทธิ์ ไทยรัตน์)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
- การสร้างภาพพิเศษยอดเยี่ยม (บริษัท โอเรียนทัล โพสท์ จำกัด)
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (สี่แพร่ง)
- นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (มณีรัตน์ คำอ้วน)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ยงยุทธ ทองกองทุน, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, บรรจง ปิสัญธนะกูล, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, เอกสิทธิ์ ไทยรัฐ )
- กำกับภาพยอดเยี่ยม (นิรมล รอสส์)
- กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (อรรคเดช แก้วโคตร, วุฒินันท์ สุจริตพงศ์, โสภณ พูลสวัสดิ์, ปรัชวิญณ์ เพ็ชรกรด และ คนึง ดำแก้ว)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชพัชร์ โกจิ๋ว, ธรรมรัตน์ สุเมธศุภโชค, ปวีณ ภูริจิตปัญญา, สุรวุฒิ ตุงคะรักษ์)
- นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์)
- นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี (มณีรัตน์ คำอ้วน)
อ้างอิง
แก้- ↑ สี่แพร่ง thaicinema.org
- ↑ มยุรี อำนวยพร, ที่สุดของหนังเด่น-หนังโดนแห่งปี เก็บถาวร 2008-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน dailynews.co.th