สหภาพเหนือชาติ
สหภาพเหนือชาติ (อังกฤษ: Supranational union) เป็นพัฒนาการของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจขั้นสูงสุด[1] โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวมกันเป็นชาติเดียวกัน ซึ่งรัฐบาลของแต่ละประเทศไม่สามารถกำหนดนโยบายของตนเองได้ แต่สหภาพจะกำหนดนโยบายให้ประเทศสมาชิกดำเนินการเอง[2]
องค์กรระหว่างประเทศ
แก้- สหภาพยุโรป (EU)
- สหภาพแอฟริกา (AU)
- สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
- เบเนลักซ์ สหภาพการเมืองของประเทศเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ และลักเซมเบิร์ก แม้ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่สนธิสัญญาของสหภาพยุโรปมีข้อยกเว้นว่ากฎหมายของสหภาพยุโรปอยู่ภายใต้การรวมกลุ่มของเบเนลักซ์
- ระบบบูรณาการอเมริกากลาง (SICA)
- ประชาคมเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิแห่งชาติ
- คณะมนตรีความร่วมมือรัฐอ่าวอาหรับ (สภาความร่วมมืออ่าว) (GCC)
- สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (EAEU)
- คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนนานาชาติ (IHRC)[3]
- สมาคมเอเชียใต้เพื่อความร่วมมือระดับภูมิภาค (SAARC)
- สหภาพประชาชาติอเมริกาใต้ (USAN)
- เครือรัฐเอกราช (CIS)
- รัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส
- องค์กรรัฐเตอร์กิก (TurkKon)
- องค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (ECO)
- องค์การรัฐไอบีโร-อเมริกา (OEI)
- องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในทะเลดำ (BSEC)
- พันธมิตรแปซิฟิก
องค์กรอื่นที่ได้มีการบูรณาการเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ได้แก่
- สันนิบาตอาหรับ เข้าสู่ "สหภาพอาหรับ"
- ที่ประชุมเกาะแปซิฟิก เข้าสู่ "สหภาพแปซิฟิก"
- สหภาพศุลกากรของเบลารุส คาซัคสถาน และรัสเซีย เข้าสู่ "สหภาพยูเรเชีย"
- ประชาคมรัฐลาตินอเมริกาและรัฐแคริบเบียน (CELAC) เข้าสู่ "สหภาพลาตินอเมริกา"
- ประชาคมแอฟริกาตะวันออก เข้าสู่ "สหพันธรัฐแอฟริกาตะวันออก"
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Bauböck, Rainer (2007). "Why European Citizenship? Normative Approaches to Supranational Union". Theoretical Inquiries in Law. Berkeley Electronic Press. 8 (2, Article 5). doi:10.2202/1565-3404.1157. ISSN 1565-3404. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 มกราคม 2010. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2009.
A normative theory of supranational citizenship will necessarily be informed by the EU as the only present case and will be addressed to the EU in most of its prescriptions
- ↑ Kiljunen, Kimmo (2004). The European Constitution in the Making. Centre for European Policy Studies. pp. 21–26. ISBN 978-92-9079-493-6.
- ↑ "International Human Rights Commission - IHRC". International Human Rights Commission (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 31 สิงหาคม 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้"Towards Unity". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 มกราคม 2009. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2009. "โรเบิร์ต ชูแมน และ สหภาพเหนือชาติของยุโรป". สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2009. "สหภาพพันธมิตร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 มกราคม 2016. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2011.