สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย
องค์กรเศรษฐกิจของประเทศในเอเชียเหนือ เอเชียกลาง และยุโรปตะวันออก
สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (อังกฤษ: Eurasian Economic Union; รัสเซีย: Евразийский Экономический Союз) หรือ สหภาพยูเรเชีย (อังกฤษ: Eurasian Union; รัสเซีย: Евразийский Союз) เป็นสหภาพเศรษฐกิจ จัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2557 และมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2558 [5] [5] โดยในปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 5 ประเทศ ได้แก่ เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อาร์มีเนีย และรัสเซีย ซึ่งสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียนี้ได้สร้างตลาดเศรษฐกิจเดียวที่มีขนาดประชากรกว่า 180 ล้านคน และผลิตภัณฑ์มวลรวม 2.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[5] ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถานยังแสดงความสนใจเข้าร่วมองค์การด้วย[6][7]
สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย รายการ
| |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สมาชิก
ดินแดนที่เป็นกรณีพิพาท[1] | |||||||||||
ศูนย์กลางบริหาร | |||||||||||
เมืองใหญ่สุด | มอสโก 55°45′N 37°37′E / 55.750°N 37.617°E | ||||||||||
ภาษาราชการ | รัสเซีย (ภาษาทำงาน) | ||||||||||
ประเภท | สหภาพเศรษฐกิจ | ||||||||||
ชาติสมาชิก | สมาชิก: คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน เบลารุส รัสเซีย อาร์มีเนีย ผู้สังเกตการณ์: คิวบา มอลโดวา อุซเบกิสถาน | ||||||||||
ผู้นำ | |||||||||||
• ประธานสภาเศรษฐกิจสูงสุดยูเรเชีย (พ.ศ. 2565) | Sadyr Zhaparov[2] | ||||||||||
• ประธานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยูเรเชีย | Mikhail Myasnikovich | ||||||||||
ก่อตั้ง | |||||||||||
• ข้อเสนอดั้งเดิมa | พ.ศ. 2537 | ||||||||||
10 ตุลาคม พ.ศ. 2543 | |||||||||||
1 มกราคม พ.ศ. 2553 | |||||||||||
• ข้อตกลงจัดตั้งสหภาพฯ | 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 | ||||||||||
1 มกราคม พ.ศ. 2555 | |||||||||||
• ลงนามในสนธิสัญญาสหภาพฯ | 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 | ||||||||||
• สถาปนาสหภาพฯ | 1 มกราคม พ.ศ. 2558 | ||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||
• รวม | 20,229,248[3] ตารางกิโลเมตร (7,810,556 ตารางไมล์) | ||||||||||
ประชากร | |||||||||||
• พ.ศ. 2563 ประมาณ | 184,579,000[4] | ||||||||||
9.12 ต่อตารางกิโลเมตร (23.6 ต่อตารางไมล์) | |||||||||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | พ.ศ. 2565 (ประมาณ) | ||||||||||
• รวม | 5.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] | ||||||||||
• ต่อหัว | 27,757 ดอลลาร์สหรัฐ | ||||||||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | พ.ศ. 2565 (ประมาณ) | ||||||||||
• รวม | 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] | ||||||||||
• ต่อหัว | 10,400 ดอลลาร์สหรัฐ | ||||||||||
สกุลเงิน | เท็งเก ซอมคีร์กีซสถาน รูเบิลเบลารุส รูเบิลรัสเซีย ดรัมอาร์มีเนีย | ||||||||||
เขตเวลา | UTC+2 ถึง +12 | ||||||||||
ขับรถด้าน | ขวามือ | ||||||||||
รหัสโทรศัพท์ | |||||||||||
โดเมนบนสุด | |||||||||||
เว็บไซต์ EAEUnion.org | |||||||||||
|
อ้างอิง
แก้- ↑ Taylor & Francis (2020). "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2020. Routledge. ISBN 978-1-003-00706-7.
Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognised as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
- ↑ "Kyrgyzstan has taken over the presidency in the EAEU".
- ↑ 3.0 3.1 "Countries by Area". Nations Online Project. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Report for Selected Countries and Subjects: October 2020". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 26 October 2020.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Russia, Kazakhstan, Belarus Sign Treaty Creating Huge Economic Bloc". Time.com.
- ↑ "Astana gears up for Eurasian Economic Union". 2014-05-23. สืบค้นเมื่อ 2014-05-27.
- ↑ http://www.voanews.com/a/russia-belarus-kazakhstan-agree-to-create-economic-union/1924941.html