สนั่น สุมิตร
นายสนั่น สุมิตร อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)ท่านแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาท่านที่สอง
สนั่น สุมิตร | |
---|---|
ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2493 | |
ก่อนหน้า | ม.ล.ปิ่น มาลากุล |
ถัดไป | นายสงวน เล็กสกุล |
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2496 – พ.ศ. 2499 | |
ก่อนหน้า | หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) |
ถัดไป | นายสุต เหราบัตย์ |
รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2506 – พ.ศ. 2506 | |
ก่อนหน้า | นายสงวน เล็กสกุล |
ถัดไป | คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 12 เมษายน พ.ศ. 2453 บ้านถนนสีลม จังหวัดพระนคร มณฑลกรุงเทพ ประเทศสยาม |
เสียชีวิต | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 (86 ปี) |
คู่สมรส | คุณหญิงประไพ สุมิตร (บุตร-ธิดา 4 คน) |
ประวัติ
แก้นายสนั่น สุมิตร เป็นบุตรคนที่ 6 ของนายเออเนสท์ สเปนซ์ สมิธ (Ernest Spence Smith) และนางชุ่ม สมิธ การศึกษา : ปริญญาตรีเกียรตินิยม (B.A. Hons.) ทางวิชาเคมี ฟิสิกส์ และคณิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (Cambridge University)
การทำงาน
แก้- พ.ศ. 2477 ข้าราชการครูโท สอนวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- พ.ศ. 2487 ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2493 หัวหน้ากองโรงเรียนรัฐบาล กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- พ.ศ. 2496 ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ (ท่านแรก) สังกัดกรมอาชีวศึกษา
- พ.ศ. 2499 อธิบดีกรมอาชีวศึกษา
- พ.ศ. 2505 อธิบดีกรมวิสามัญศึกษา
- พ.ศ. 2506 รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- พ.ศ. 2511 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้สนั่น สุมิตร ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์[1] ดังนี้
- พ.ศ. 2511 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[2]
- พ.ศ. 2508 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2512 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2533 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ[5]
- พ.ศ. 2502 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[6]
- พ.ศ. 2514 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[7]
อ้างอิง
แก้- ↑ "ข่าวในพระราชสำนัก [14 มีนาคม 2541]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (29 ง): 120. 9 เมษายน 2541. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2564.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๖, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๒ ตอนที่ ๑๑๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๗, ๒๓ ธันวาคม ๒๕๐๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๔๖ ง หน้า ๑๘๓๖, ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๒๐๐ ง หน้า ๘๑๕๓, ๔ ตุลาคม ๒๕๓๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๑๑๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔๖, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๐๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๒๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๘, ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
- หนังสือ 60 ปี เตรียมอุดมศึกษา (2480-2540)
ดูเพิ่ม
แก้ก่อนหน้า | สนั่น สุมิตร | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
ม.ล.ปิ่น มาลากุล | ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (พ.ศ. 2487 - พ.ศ. 2493) |
นายสงวน เล็กสกุล |
ก่อนหน้า | สนั่น สุมิตร | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) | ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ (พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2499) |
นายสุต เหราบัตย์ |
ก่อนหน้า | สนั่น สุมิตร | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
นายสงวน เล็กสกุล | รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2506) |
คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู |