วาล์วคอร์ปอเรชัน
วาล์วคอร์ปอเรชัน (อังกฤษ: Valve Corporation) เป็นผู้พัฒนา, ผู้จัดจำหน่ายวิดีโอเกม, และผู้จำหน่ายสื่อดิจิทัลสัญชาติอเมริกันที่มีสำนักงานใหญ่อยู่ในเมืองเบลเลอวู รัฐวอชิงตัน วาล์วเป็นที่รู้จักดีในฐานที่เป็นผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สตีมและเกมฮาล์ฟ-ไลฟ์, เคาน์เตอร์-สไตรก์, พอรทัล, เดย์ออฟดิฟีท, ทีมฟอร์เทรส 2, เลฟท์ 4 เดด, และโดตา 2
บริเวณล็อบบี้ของสำนักงานเก่าวาล์วในเมือง เบลเลอวู รัฐวอชิงตัน | |
ชื่อเดิม | วาล์ว, L.L.C. (1996–2003) |
---|---|
ประเภท | บริษัทเอกชน |
อุตสาหกรรม | |
ก่อตั้ง | 24 สิงหาคม 1996เคิร์กแลนด์, รัฐวอชิงตัน สหรัฐ. | ในเมือง
ผู้ก่อตั้ง | |
สำนักงานใหญ่ | , |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
บุคลากรหลัก | |
ผลิตภัณฑ์ | |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | US$2.5 พันล้าน[1] (2012) |
เจ้าของ | เกบ นิวเอลล์ (50%)[2] |
พนักงาน | ~360[3] (2016) |
บริษัทในเครือ |
|
เว็บไซต์ | valvesoftware |
วาล์วก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2539 โดยอดีตพนักงานบริษัทไมโครซอฟท์ เกบ นีเวลล์ และ ไมค์ แฮร์ริงตัน ในปี พ.ศ. 2541 วาล์วได้เปิดตัวเกมสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแนวเกมยิงบุคคลที่หนึ่งที่ชื่อ ฮาล์ฟ-ไลฟ์ ซึ่งได้รับเสียงวิจารณ์ที่ดีและประสบความสำเร็จ ในเวลาต่อมา ไมค์ แฮร์ริงตัน ได้ลาออกจากบริษัทในปี พ.ศ. 2543 ในปี พ.ศ. 2546 วาล์วได้เปิดตัวสตีม ซึ่งถือว่าเป็นแพลตฟอร์มจำหน่ายดิจิทัลที่ใหญ่ที่สุดสำหรับเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในปี พ.ศ. 2555 วาล์วมีพนักงานอยู่ประมาณ 250 คนและมีมูลค่ามากกว่า 3 พ้นล้านดอลลาร์สหรัฐ ถือว่าเป็นบริษัทที่ทำกำไรได้มากที่สุดต่อพนักงานในสหรัฐอเมริกา[5][6] ในปี พ.ศ. 2558 วาล์วได้เข้าสู่ตลาดเกมฮาร์ดแวร์ด้วยการเปิดตัวสตีมแมชชีน ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปสำหรับการเล่นเกมที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานสตีมโอเอสผ่านทางไคลเอนต์สตีม
ผลิตภัณฑ์
แก้วิดีโอเกมส์
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Wingfield, Nick (September 8, 2012). "Game Maker Without a Rule Book". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 12, 2012. สืบค้นเมื่อ September 9, 2012.
- ↑ Chiang, Oliver (February 9, 2011). "The Master of Online Mayhem". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 7, 2017. สืบค้นเมื่อ March 6, 2017.
- ↑ Chalk, Andy (October 18, 2016). "Valve denies wrongdoing in skin gambling legal rumblings: 'no factual or legal support for these accusations'". PC Gamer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 18, 2016. สืบค้นเมื่อ October 18, 2016.
- ↑ "Privacy Policy Agreement". Valve Corporation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 31, 2016. สืบค้นเมื่อ January 1, 2017.
Payment processing related to Content and Services and/or physical goods purchased on Steam is performed by either Valve Corporation directly or by Valve’s fully owned subsidiary Valve GmbH on behalf of Valve Corporation depending on the type of payment method used.
- ↑ Makuch, Eddie. "Valve worth $3 billion – Report". GameSpot. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
- ↑ Chiang, Oliver. "Valve And Steam Worth Billions". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 17, 2016. สืบค้นเมื่อ November 16, 2016.