วันยุทธเวหาที่บริเตน
วันยุทธเวหาที่บริเตน (อังกฤษ: Battle of Britain Day) เป็นชื่อที่ตั้งให้แก่วันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1940 ซึ่งเกิดยุทธการทางอากาศเป็นวงกว้างในช่วงยุทธการที่บริเตน
วันยุทธเวหาที่บริเตน | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่บริเตน | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหราชอาณาจักร | ไรช์เยอรมัน | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Hugh Dowding Keith Park |
แฮร์มันน์ เกอริง อัลแบร์ท เคสเซิลริง | ||||||
หน่วยที่เกี่ยวข้อง | |||||||
กองบัญชาการเครื่องขับไล่ | Luftflotte 2 | ||||||
กำลัง | |||||||
50,000 observers[3] 630 fighter aircraft[4] | 1,120 aircraft (620 fighters and 500 bombers)[4] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
29 aircraft destroyed[5] ~ 21 damaged[6] 14[7]–16 killed[5] 14 wounded[7] 1 captured[7] |
57[8]–61[5] aircraft destroyed 20 severely damaged[9] 63–[10] 81 killed[7] 63[7]–65 captured[10] 30[10]–31 wounded[7] 21 missing[10] |
ในวันนั้น ลุฟท์วัฟเฟอได้เริ่มเข้าโจมตีกรุงลอนดอนทุกครั้ง ด้วยจำนวนเครื่องบินรบราวประมาณ 1,500 ลำได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรบทางอากาศซึ่งได้ยืดเยื้อจนกระทั่งถึงช่วงค่ำ การปฏิบัติครั้งนี้เป็นจุดสูงสุดของยุทธการที่บริเตน
ในช่วงภายหลังของการโจมตี ฮิตเลอร์ได้เลื่อนปฏิบัติการสิงโตทะเลออกไป หลังจากได้รับความพ่ายแพ้ในช่วงกลางวัน ลุฟท์วัฟเฟอได้หันเหความสนใจไปกับการโจมตีสายฟ้าแลบหรือเดอะบลิตซ์ การทัพช่วงกลางคืนซึ่งได้กินเวลาไปจนกระทั่งเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1941
วันยุทธเวหาที่บริเตนในปัจจุบันนั้นได้กลายเป็นวันรำลึกประจำปีของการสู้รบในสหราชอาณาจักร ในแคนาดา, การรำลึกจะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ของเดือนกันยายน
อ้างอิง
แก้- ↑ Murray 1983, pp. 52–54
- ↑ Hough and Richards 2007, p. 283.
- ↑ Collier 1980, p. 196.
- ↑ 4.0 4.1 Bungay 2000, p. 319.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Terraine 1985, p. 211.
- ↑ Price 1990, p. 106.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 Bungay 2000, p. 333.
- ↑ Killen 2003, p. 147.
- ↑ Overy 2001, p. 86.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 Price 1990, pp. 154–163.