ลิเทียมคลอไรด์
ลิเทียมคลอไรด์ (lithium chloride) เป็นสารประกอบไอออนิก (เกลือ) ประกอบด้วยลิเทียมและคลอรีน มีสูตรเคมีคือ LiCl สามารถดูดความชื้นจากบรรยากาศได้ดีและสามารถละลายน้ำได้ เมื่อเทียบกับโซเดียมคลอไรด์และโพแทสเซียมคลอไรด์จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์มีขั้วเช่นเมทานอลและอะซิโตน
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
Lithium chloride | |
Systematic IUPAC name
Lithium(1+) chloride | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.028.375 |
EC Number |
|
MeSH | Lithium+chloride |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
UN number | 2056 |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
LiCl | |
มวลโมเลกุล | 42.39 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | white solid hygroscopic, sharp |
ความหนาแน่น | 2.068 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 605–614 องศาเซลเซียส (1,121–1,137 องศาฟาเรนไฮต์; 878–887 เคลวิน) |
จุดเดือด | 1,382 องศาเซลเซียส (2,520 องศาฟาเรนไฮต์; 1,655 เคลวิน) |
68.29 g/100 mL (0 °C) 74.48 g/100 mL (10 °C) 84.25 g/100 mL (25 °C) 88.7 g/100 mL (40 °C) 123.44 g/100 mL (100 °C)[1] | |
ความสามารถละลายได้ | soluble in hydrazine, methylformamide, butanol, selenium(IV) oxychloride, propanol[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน methanol | 45.2 g/100 g (0 °C) 43.8 g/100 g (20 °C) 42.36 g/100 g (25 °C)[2] 44.6 g/100 g (60 °C)[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน ethanol | 14.42 g/100 g (0 °C) 24.28 g/100 g (20 °C) 25.1 g/100 g (30 °C) 23.46 g/100 g (60 °C)[2] |
ความสามารถละลายได้ ใน formic acid | 26.6 g/100 g (18 °C) 27.5 g/100 g (25 °C)[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน acetone | 1.2 g/100 g (20 °C) 0.83 g/100 g (25 °C) 0.61 g/100 g (50 °C)[1] |
ความสามารถละลายได้ ใน liquid ammonia | 0.54 g/100 g (-34 °C)[1] 3.02 g/100 g (25 °C) |
ความดันไอ | 1 torr (785 °C) 10 torr (934 °C) 100 torr (1130 °C)[1] |
−24.3·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.662 (24 °C) |
ความหนืด | 0.87 cP (807 °C)[1] |
โครงสร้าง | |
Octahedral | |
Linear (gas) | |
7.13 D (gas) | |
อุณหเคมี | |
ความจุความร้อน (C)
|
48.03 J/mol·K[1] |
Std molar
entropy (S⦵298) |
59.31 J/mol·K[1] |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
-408.27 kJ/mol[1] |
พลังงานเสรีกิบส์ (ΔfG⦵)
|
-384 kJ/mol[1] |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
[3] | |
เตือน | |
H302, H315, H319, H335[3] | |
P261, P305+P351+P338[3] | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | Non-flammable |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
526 mg/kg (oral, rat)[4] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0711 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
Lithium fluoride Lithium bromide Lithium iodide Lithium astatide |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
Sodium chloride Potassium chloride Rubidium chloride Caesium chloride Francium chloride |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ตามธรรมชาติ
แก้ลิเทียมคลอไรด์ทำหน้าที่เป็นแหล่งไอออนของคลอไรด์ ( ) เช่นเดียวกับเกลือที่ละลายน้ำได้อื่น ๆ การผสมกับเกลือโลหะบางชนิดในสารละลาย จะทำให้เกิดคลอไรด์ที่ไม่ละลายน้ำ ตัวอย่างเช่นการทำปฏิกิริยากับตะกั่ว(II) ไนเตรตจะทำให้เกิดตะกั่ว(II) คลอไรด์
Li+ (ลิเทียมไอออน) เป็นกรดเลอวิสอ่อน ยกตัวอย่างเช่น 1 โมล ของลิเทียมคลอไรด์สามารถเชื่อมต่อแอมโมเนียได้ถึง 4 โมล
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 http://chemister.ru/Database/properties-en.php?dbid=1&id=614
- ↑ 2.0 2.1 Seidell, Atherton; Linke, William F. (1952). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds. Van Nostrand. สืบค้นเมื่อ 2014-06-02.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Sigma-Aldrich Co., Lithium chloride. Retrieved on 2014-05-09.
- ↑ http://chem.sis.nlm.nih.gov/chemidplus/rn/7447-41-8