ราหุล ราชีพ คานธี (อักษรโรมัน: Rahul Rajiv Gandhi; เสียงอ่านภาษาฮินดี: [ˈraːɦʊl ˈɡaːndʱiː] ( ฟังเสียง); เกิด 19 มิถุนายน ค.ศ. 1970) เป็นนักการเมืองชาวอินเดียและอดีต สมาชิกรัฐสภาอินเดีย ผู้เป็นตัวแทนของอเมถี รัฐอุตตรประเทศ และวยนาท รัฐเกรละในโลกสภา เขาเป็นสมาชิกของพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย พรรคฝ่ายค้านหลัก และเป็นหัวหน้าพรรคฯ ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2017 ถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2019 ในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 2023 ศาลในรัฐคุชราตตัดสินให้จำคุกเขาเป็นเวลา 2 ปีจากการปราศรัยต่อนายกรัฐมนตรี นเรนทระ โมที เกี่ยวกับข้อกล่าวหาหมิ่นประมาทต่อนามสกุลของเขาใน ค.ศ. 2019[8] ข้อตัดสินนั้นทำให้เขาถูกถอดถอนออกจากรัฐสภา[2][3]

ราหุล คานธี
สมาชิกรัฐสภา โลกสภา
เริ่มดำรงตำแหน่ง
23 พฤษภาคม 2019
ก่อนหน้าเอ็ม. ไอ. ศานวาส
เขตเลือกตั้งวยนาท รัฐเกรละ
ดำรงตำแหน่ง
17 พฤษภาคม 2004 – 23 พฤษภาคม 2019
ก่อนหน้าโสนิอา คานธี
ถัดไปSmriti Irani
เขตเลือกตั้งอเมถี รัฐอุตตรประเทศ
หัวหน้าพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
16 ธันวาคม 2017 – 10 สิงหาคม 2019
ก่อนหน้าโสนิอา คานธี
ถัดไปโสนิอา คานธี
รองหัวหน้าพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
19 มกราคม 2013 – 16 ธันวาคม 2017
ประธานาธิบดีโสนิอา คานธี
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปยุบเลิกตำแหน่ง
เลขาธิการทั่วไปแห่งพรรคคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
25 กันยายน 2007 – 19 มกราคม 2013
ประธานาธิบดีโสนิอา คานธี
ประธานสภาเยาวชนอินเดีย
เริ่มดำรงตำแหน่ง
25 กันยายน 2007
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ประธานสหภาพนักศึกษาแห่งชาติอินเดีย
เริ่มดำรงตำแหน่ง
25 กันยายน 2007
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
ราหุล ราชีพ คานธี

(1970-06-19) 19 มิถุนายน ค.ศ. 1970 (54 ปี)
นิวเดลี ประเทศอินเดีย
พรรคการเมืองคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
บุพการีราชีพ คานธี (พ่อ)
โสนิอา คานธี (แม่)
ความสัมพันธ์ปริยังกา คานธี (น้าสาว)
ตระกูลเนห์รู–คานธี
การศึกษา
ลายมือชื่อ
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

อ้างอิง

แก้
  1. Singh, Karan Deep (23 March 2023). "Leader of Indian Party Opposing Modi Is Sentenced in Defamation Case". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 25 March 2023.
  2. 2.0 2.1 "Gandhi sentenced to jail for Modi 'thieves' remark". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 23 March 2023. สืบค้นเมื่อ 23 March 2023.
  3. 3.0 3.1 Dhillon, Amrit (23 March 2023). "Rahul Gandhi found guilty of defaming Narendra Modi". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 25 March 2023.
  4. "Rahul Gandhi: Key opposition leader in India disqualified from parliament after defaming Prime Minister Narendra Modi". Sky News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 1 April 2023.
  5. "India opposition leader loses his Parliament seat after being convicted of defamation". NPR. Associated Press. 24 March 2023.
  6. "Indian opposition leader Rahul Gandhi gets 2 years in jail for Modi comment". NBC News (ภาษาอังกฤษ). 24 March 2023. สืบค้นเมื่อ 1 April 2023.
  7. "India's Rahul Gandhi found guilty of defamation over Modi remark". France 24 (ภาษาอังกฤษ). 23 March 2023. สืบค้นเมื่อ 23 March 2023.
  8. [1][2][3][4][5][6][7]

อ่านเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้