รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลาวทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

แก้
ที่ตั้งแหล่งมรดกโลกในประเทศลาว

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

แก้
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
เมืองหลวงพระบาง   แขวงหลวงพระบาง
19°53′20″N 102°8′0″E / 19.88889°N 102.13333°E / 19.88889; 102.13333 (Town of Luang Prabang)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv), (v)
820;
พื้นที่กันชน 12,560
2538/1995 หลวงพระบางเป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิมของลาวกับอิทธิพลจากเจ้าอาณานิคมยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 479[2]
วัดพูและการตั้งถิ่นฐานโบราณที่เกี่ยวเนื่องภายในภูมิทัศน์วัฒนธรรมจำปาศักดิ์   แขวงจำปาศักดิ์
14°50′54″N 105°49′20″E / 14.84833°N 105.82222°E / 14.84833; 105.82222 (Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural Landscape)
วัฒนธรรม:
(iii), (iv), (vi)
39,000 2544/2001 สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ แสดงถึงพัฒนาการในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 15 ที่เกี่ยวข้องกับอาณาจักรพระนคร 481[3]
แหล่งไหหินใหญ่
ในเชียงขวาง
ทุ่งไหหิน
  แขวงเชียงขวาง
19°25′51.8″N 103°9′8″E / 19.431056°N 103.15222°E / 19.431056; 103.15222 (Megalithic Jar Sites in Xiengkhuang – Plain of Jars)
วัฒนธรรม:
(iii)
174.56;
พื้นที่กันชน 1,012.94
2562/2019 แหล่งโบราณคดีที่เก่าแก่ในช่วงสมัยยุคเหล็กซึ่งมีอายุราว 3,000–2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคมที่ซับซ้อนมากขึ้นและโครงสร้างหินใหญ่ที่อยู่ในชุมชนยุคเหล็กในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1587[4]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

แก้

ประเทศลาวมีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 2 แห่ง ดังนี้[1]

ปี พ.ศ./ค.ศ. ในวงเล็บ หมายถึงปีที่สถานที่นั้น ๆ ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Laos". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2015.
  2. "Town of Luang Prabang". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  3. "Vat Phou and Associated Ancient Settlements within the Champasak Cultural Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  4. "Megalithic Jar Sites in Xiengkhuang – Plain of Jars". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.