รายชื่อธงในจักรวรรดิเยอรมัน

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (ค.ศ. 1866/67–1871) และ จักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918)

ธงชาติ แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1866–1918 ธงชาติ และ ธงค้าขาย ธงแบ่งเป็นแถบแนวนอนสี 3 แถบ ดำ-ขาว-แดง

ธงเรือ แก้

ธงราชการ แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1896–1918 ธงเรือช่วยรบ และ ธงเรือพลเรือนบังคับการโดยทหาร ธงค้าขายแบบเพิ่มเติมมีรูปกางเขนเหล็ก.
  ค.ศ. 1871–1892 ธงเรือราชการ มีรูปสมอเรือสีฟ้าที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี.
  ธงเรือศุลกากร มีรูปสมอเรือสีฟ้าประกอบอักษรย่อสีแดง "KZ" ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี, .
  ธงเรือนำร่อง มีรูปสมอเรือสีฟ้าไขว้ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี.
  ธงเรือขนส่งสินค้า มีรูปสมอเรือสีแดง4สมอไขว้ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี
  ธงเรือไปรษณีย์ มีรูปแตรสีทองที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี
  ค.ศ. 1892–1918 ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปแตรสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว.
  ค.ศ. 1893–1918 ธงราชการ ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูมงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว.
  ธงเรือราชการสำหรับใช้ในทะเล ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว.

ธงนาวี แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1871–1892 ธงนาวี
  ค.ศ. 1892–1903 ธงจักรพรรดินาวี .[1]
  ค.ศ. 1903–1918 .

ธงฉาน แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1866/67–1871 ธงฉาน อัตราส่วน 2:3[2]
  ค.ศ. 1871–1918 อัตราส่วน 3:5
  ค.ศ. 1871–1892 ธงฉานเรือไปรษณีย์ ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปแตรสีทอง
  ธงฉานเรือราชการ ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้า สำหรับเรือราชการในดินแดนแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี
  ธงฉานเรือศุลกากร ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้าประกอบอักษรย่อสีแดง "KZ"
  ธงฉานเรือนำร่อง ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้าไขว้
  ธงฉานเรือขนส่งสินค้า ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธง มีรูปสมอเรือสีแดง4สมอไขว้.

ธงเรือยอชต์ แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1893–1918 ธงเรือยอชต์หลวงคีล Kaiserlichen Yachtklubs Kiel ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีตราอาร์มนกอินทรีปรัสเซียประกอบสมอสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงรีสีขาว
  ค.ศ. 1906–1918 ธงเรือยอชต์ Segelklubs „Rhe“ in Königsberg Der Preußische Adler aufgelegt auf ein Schild, dieses aufgelegt auf ein Schild mit dem „Deutschordenskreuz
  ค.ศ. 1911–1918 ธงเรือยอชต์ Großherzoglich Mecklenburgischen Jachtklubs in Rostock ลักษณะเดียวกับธงชาติ ประกอบธงรอสสต็อกที่มุมบนคันธง
  ค.ศ. 1913–1918 ธงเรือยอชต์ Königlich Württembergischen Jachtklubs in Friedrichshafen ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางค่อนมาทางคันธงมีตราอาร์มเวือร์ทเทิมแบร์ค
  ค.ศ. 1914–1918 ธงเรือยอชต์หลวงมอร์เตอร์ยอชต์ เบอร์ลิน-ชาลอทเต็นเบิร์ก Kaiserlichen Motorjacht-Klubs Berlin-Charlottenburg ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางค่อนมาทางคันธงมีตราอาร์มนกอินทรีปรัสเซียประกอบสมอและฟันเฟืองสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงรีสีขาว
  ค.ศ. 1914–1918 ธงเรือยอชต์ Deutschen Seglerverbands in Hamburg Der Preußische Adler auf ein Wappenschild gelegt

ธงดินแดนอาณานิคม แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี หัวสิงโตภายในอาร์มสีแดง
  แคเมอรูนของเยอรมนี ช้างภายในอาร์มสีแดง
  โตโกแลนด์ งูเห่า2ตัวเลื้อยเข้าหาต้นปาล์มภายในอาร์มสีเขียวอ่อน
  แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี หัวควายภายในอาร์มสีน้ำเงินประกอบตราอาร์มนกอินทรีในช่องสีเหลือง
  ซามัวของเยอรมนี ต้นมะพร้าวประกอบคลื่นทะเลภายในอาร์มสีแดง
  นิวกินีของเยอรมนี นกปักษาสวรรค์ภายในอาร์มสีเขียว

ธงในพระราชวงศ์ แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1871 ธงพระอิสริยยศพระจักรพรรดิ .
  ค.ศ. 1871–1888 .
  ค.ศ. 1888–1918 .[3]
  ค.ศ. 1871–1901 ธงพระอิสริยยศพระจักรพรรดินี .[4]
  ค.ศ. 1888–1918 .
  ค.ศ. 1871–1888 ธงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมาร .
  ค.ศ. 1888–1918 .

ธงยศทหาร แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1900–1901 ธงผู้บัญชาการกองกำลังเยอรมนี คทาจอมพลเยอรมันไขว้ประกอบธงฉาน

ธงทหารบก แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1871–1918 ธงผู้บัญชาการกองทัพบก
  ธงผู้บัญชาการกองกำลัง
  ธงผู้บัญชาการกองพล ลักษณะเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม

ธงทหารเรือ แก้

ธงเรือราชสำนัก แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1895–1918 ธงผู้บังคับการเรือพระจักรพรรดิ
  ค.ศ. 1908–1918 ธงผู้บังคับการเรือพระจักรพรรดินี

ธงผู้บังคับบัญชา แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1889–1918 Flagge des Staatssekretärs im Reichs-Marine-Amt Flagge eines Admirals mit zwei gekreuzten, gelben klaren Ankern in der inneren, unteren Ecke. Da es sich bei dieser Flagge um kein Kommandozeichen handelte, blieben Flaggen von Admiralen usw. gehisst.
  ค.ศ. 1871–1889 ธงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือ Um das verkleinerte Kreuz einer Admiralsflagge liegen vier kreuzweise angeordnete, rote, klare Anker
  ค.ศ. 1889–1899 ธงผู้บังคับบัญชานายพลเรือ ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาว กลางธงมีรูปมงกุฎพระจักรพรรดิ์บนตรากางเขนเหล็ก.'
  ค.ศ. 1899–1900 ธงผู้ตรวจราชการกองทัพเรือ[5] ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวขอบสีแดงตรากางเขนเหล็ก.
  ค.ศ. 1900
  ค.ศ. 1900–1918
  ค.ศ. 1908–1918 ธงพลเรือเอก ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ ลักษณะเดียวกับธงนายพลเรือทุกชั้นยศ กลางธงมีรูปดาบรองรับด้วยเชือกภายในวงกลมสีขาว
  ธงพลเรือโท ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ
  ธงพลเรือตรี ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ
  ค.ศ. 1900–1918 ธงจอมพลเรือ ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาว กลางธงมีคทาจอมพลเยอรมันไขว้ประกอบมงกุฎพระจักรพรรดิ์บนตรากางเขนเหล็ก.

ธงนายพลเรือ แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ตั้งแต่ ค.ศ. 1871 ธงพลเรือเอก ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวกางเขนเหล็ก.
  ธงพลเรือโท ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวกางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีดำ 1 วง.
  ธงพลเรือตรี ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวกางเขนเหล็ก มุมบน และ มุมล่างคันธงมีวงกลมสีดำช่องละ 1 วง.
  ค.ศ. 1904–1918 ธงพลเรือโท (นอกราชการ) ลักษณะเดียวกับธงนายพลเรือในราชการ มุมบนคันธงมีวงกลมสีแดง
  ธงพลเรือตรี (นอกราชการ)

ธงแสดงตำแหน่ง แก้

ภาพธง ระยะเวลาการใช้ การใช้ คำอธิบาย
  ค.ศ. 1871–1918 ธงพลเรือจัตวา ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก.
  ธงพลเรือจัตวา (für Schiffe geringerer Leistungsfähigkeit)[6] ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีดำ 1 วง.
  ค.ศ. 1904–1918 ธงพลเรือจัตวา (für einen stellvertretenden Kommodore der zweiten Flotte)[7] ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีแดง 1 วง.
  ค.ศ. 1871–1918 ธงผู้บัญชาการกองเรือรบ
  ธงผู้บังคับหมวดเรือ ธงสามเหลี่ยมพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก.
  ธงผู้บังคับการเรือ ธงหางจระเข้สีขาว ต้นธงมีตรากางเขนเหล็ก ความยาวของธงนี้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการประจำการของเรือลำนั้นๆ
  ค.ศ. 1902–1918 ธงผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจ .
  ค.ศ. 1866–1918 ธงนำร่อง ธงค้าขายมีขอบสีขาวความกว้าง 1/5 ของธง.

ธงตำแหน่งราชการ แก้

Flagge Datum Verwendung Beschreibung
  ค.ศ. 1892–1918 ธงราชการต่างประเทศ ลักษณะเดียวกับธงราชการ กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งจักรวรรดิในวงกลมสีขาว
  ค.ศ. 1893–1918 ธงนำร่องอาณานิคม ลักษณะเดียวกับธงราชการต่างประเทศ มีรูปสมอเรือสีเหลืองประกอบอักษรย่อสีแดง "LV" .
  ธงศุลกากรอาณานิคม ลักษณะเดียวกับธงราชการต่างประเทศ มีรูปสมอเรือสีเหลืองประกอบอักษรย่อสีแดง "ZV".
  ค.ศ. 1891–1918
ค.ศ. 1898–1918
ธงผู้ว่าราชการแอฟริกาตะวันออก
ธงผู้ว่าราชการชิงเต่า
ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งจักรวรรดิ
  ค.ศ. 1878–1894 ธงหมู่เกาะราลิก (หมู่เกาะมาแชล) ธงแถบแนวนอนสี 5 แถบ ดำ-ขาว-แดง-ขาว-ดำ.

ธงตกแต่ง แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Hugo Gerard Ströhl (Hrsg.): Deutsche Wappenrolle. Stuttgart 1897, S. 83.
  2. Ströhl: Deutsche Wappenrolle, S. 84.
  3. Hugo Gerard Ströhl (Hrsg.): Deutsche Wappenrolle. Stuttgart 1897, S. 80.
  4. Es existiert eine Angabe von Dreyhaupt flaggenkunde.de, dass die Anzahl der Adler in späteren Jahren auf 18 reduziert wurde. Karaschewski, 2008, erwähnt dagegen eine solche Reduzierung nicht.
  5. Nach Dreyhaupt flaggenkunde.de soll diese Version kurzfristig Verwendung gefunden haben.
  6. Angaben nach Karaschewski, 2008. Dreyhaupt ist dagegen der Auffassung, dass es sich bei diesem Stander um denjenigen des Stellvertreters eines Flaggoffiziers oder Kommodores handelt. flaggenkunde.de
  7. Angaben nach Dreyhaupt (1999), der den Stander ohne weiteren Kommentar auf einer Flaggentafel zeigt.