รามกฤษณะ
ศรีปรมหังสารามกฤษณะ (Sri Ramakrishna Paramahansa; [1] หรือนามเมื่อเกิด คทาธาร จัตโตปธยายะ (Gadadhar Chattopadhyaya)[2] เป็นฤาษี, สันตะ และผู้นำทางศาสนาในศาสนาฮินดูในเบงกอลศตวรรษที่ 19[3] ศรีรามกฤษณะมีประสบการณ์ความอิ่มเอิบทางจิตวิญญาณตั้งแต่ยังเยาว์และได้รับอิทธิพลจากขนบทางศาสนามากมาย รวมทั้งความเคารพต่อองค์เทวีพระแม่กาลี, ตันตระ, ภักติ และ อทไวตะเวทันต์[4]
; 18 กุมภาพันธ์ 1836 – 16 สิงหาคม 1886,ศรีรามกฤษณะ ปรมหังสา | |
---|---|
รามกฤษณะที่ทักศิเณศวร | |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | คทธาร จัตโตปัธยายะ (Gadadhar Chattopadhyaya) 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1836 |
มรณภาพ | 16 สิงหาคม ค.ศ. 1886 โกสสิปุรี, กัลกัตตา, รัฐเบงกอล, บริติชอินเดีย (ปัจจุบันคือ โกลกาตา, รัฐเบงกอลตะวันตก, ประเทศอินเดีย) | (50 ปี)
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
คู่สมรส | สารท เทวี |
ความเป็นพลเมือง | บริติชราช |
ก่อตั้ง | คณะรามกฤษณะ |
ปรัชญา | |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ครู | หลายท่าน เช่น โตตาปุรี (Totapuri), ไภรวี พรหมณี (Bhairavi Brahmani) |
สาวก | |
เกียรติยศ | ปรมหังสา |
เมื่อครั้นเป็นนักบวชที่ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร นิสัยธรรมชาติและความปิติทางความเชื่อได้ทำให้ท่านมีความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง, นำพาท่านไปพบกับอาจารย์ทางจิตวิญญาณและผู้นำทางสังคมมากมาย ท่านได้ถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ ให้กับสาวก ที่ซึ่งต่อมาได้ตั้งเป็นคณะรามกฤษณะ[5] ท่านค่อย ๆ ได้รับความเคารพบูชาอย่างมากจากชนชั้นนำของเบงกอลและในกลุ่มคนวงการศาสนา ที่ซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งรามกฤษณะมาถ และ มิชชั่นรามกฤษณะ โดยผู้นำสาวกของท่าน สวามี วิเวกานันท์[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ —"Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 February 2017. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
—"Feature". pib.nic.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2018. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
— "Sri Ramakrishna By Swami Nikhilananda". www.ramakrishna.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 February 2017. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
—Mangla, Dharam Vir (1 April 2016). Great Saints & Yogis. Lulu Press, Inc. ISBN 9781365013515 – โดยทาง Google Books.[ลิงก์เสีย] - ↑ Smart 1998, p. 409.
- ↑ Georg 2002, p. 600.
- ↑ —Dr. S. N. Pandey (1 September 2010). West Bengal General Knowledge Digest. Upkar Prakashan. ISBN 9788174822826 – โดยทาง Google Books.
—"Biography of Sri Ramakrishna". 30 January 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 February 2017. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017. - ↑ https://belurmath.org/about-us/ เก็บถาวร 26 กุมภาพันธ์ 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Belur Math Headquarters for the Ramakrishna Order and Mission
- ↑ Clarke 2006, p. 209.