สวามี วิเวกานันท์
พระภิกษุศาสนาฮินดูและปราชญ์ชาวอินเดีย
สวามี วิเวกานันท์[4] (Swami Vivekananda; แม่แบบ:IPA-bn; 12 มกราคม 1863 – 4 กรกฎาคม 1902) ชื่อเมื่อเกิด นเรนทรนาถ ทัตตา (Narendranath Datta; แม่แบบ:IPA-bn) เป็นสงฆ์ฮินดูและผู้นำสาวกของฤๅษีอินเดียเมื่อศตวรรษที่ 19 รามกฤษณะ[5][6] เขาเป็นบุคคลสำคัญที่ได้แนะนำปรัชญาอินเดีย เวทันต์ และ โยคะ สู่โลกตะวันตก[7][8] และได้รับการยกย่องในฐานะผู้เชิดชูการรับรู้พหุความเชื่อ (interfaith awareness), นำพาให้ศาสนาฮินดูมาสู่สถานะของการเป็นศาสนาหลักของโลกในช่วงปลายศตวรรษที่ 19[9] เขาเป็นแรงผลักดันสำคัญในการปฏิรูปศาสนาฮินดูในประเทศอินเดีย และมีส่วนร่วมในแนวคิดชาตินิยมอินเดียในฐานะเครื่องมือเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิอังกฤษในสมัยอาณานิคม[10] วิเวกานันท์ได้ก่อตั้งรามกฤษณะมาถ และมิชชั่นรามกฤษณะ[8]
สวามี วิเวกานันท์ | |
---|---|
ส่วนบุคคล | |
เกิด | นเรนทรนาถ ทัตตา (Narendranath Datta) 12 มกราคม ค.ศ. 1863 |
มรณภาพ | 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1902 | (39 ปี)
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
ความเป็นพลเมือง | บริติชราช |
สำนักศึกษา | มหาวิทยาลัยกัลกัตตา (B.A.) |
ลายมือชื่อ | |
ก่อตั้ง | มิชชั่นรามกฤษณะ (1897) Ramakrishna Math |
ปรัชญา | เวทันต์ใหม่[2][3] Rāja yoga[3] |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ครู | รามกฤษณะ |
งานเขียน | ราชโยคะ, กรรมโยคะ, ภักติโยคะ, ญาณโยคะ, มายมาสเตอร์, เลคเชอส์ฟรอมโคลัมโบทูอัลโมรา |
วันเกิดของเขาได้รับการเฉลิมฉลองเป็นวันเยาวชนแห่งชาติของประเทศอินเดีย
อ้างอิง
แก้- ↑ "World fair 1893 circulated photo". vivekananda.net. สืบค้นเมื่อ 11 April 2012.
- ↑ "Bhajanānanda (2010), Four Basic Principles of Advaita Vedanta, p.3" (PDF). สืบค้นเมื่อ 28 December 2019.
- ↑ 3.0 3.1 De Michelis 2005.
- ↑ ทับศัพท์ภาษาไทยอิงตามชื่อของ ศูนย์วัฒนธรรมสวามี วิเวกานันท์ เก็บถาวร 2020-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรุงเทพมหานคร
- ↑ "Swami Vivekananda: A short biography". www.oneindia.com. สืบค้นเมื่อ 3 May 2017.
- ↑ "Life History & Teachings of Swami Vivekanand". สืบค้นเมื่อ 3 May 2017.
- ↑ "International Yoga Day: How Swami Vivekananda helped popularise the ancient Indian regimen in the West". 21 June 2017.
- ↑ 8.0 8.1 Feuerstein 2002, p. 600.
- ↑ Clarke 2006, p. 209.
- ↑ Von Dense 1999, p. 191.