ราชวงศ์ศิศุนาค
ราชวงศ์
ราชวงศ์ศิศุนาค (IAST: Śaiśunāga, อ่านว่า " Shishunaga") เชื่อกันว่าเป็นราชวงศ์ที่สามของแคว้นมคธ ซึ่งเป็นอาณาจักรของอินเดียโบราณ ตามบันทึกของชาวฮินดูโบราณระบุว่าเป็นราชวงศ์ที่ 2 ต่อจาก ราชวงศ์หารยังกะ
Shaishunaga dynasty | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
413 ปีก่อนคริสตกาล–345 BCE | |||||||||
เมืองหลวง | Rajgir (เมืองหลวงเดิม) Vaishali (เมืองหลวงแห่งที่สอง) เมืองสุดท้าย ปาฏลีบุตร | ||||||||
ภาษาทั่วไป | สันสกฤต Magadhi Prakrit Other Prakrits | ||||||||
ศาสนา | ฮินดู พุทธศาสนา เชน[1] | ||||||||
การปกครอง | Monarchy | ||||||||
• 413–395 BCE | Shishunaga | ||||||||
• 395–367 BCE | Kalashoka | ||||||||
• | Nandivardhana | ||||||||
• ?–345 BCE | Mahanandin | ||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||
• ก่อตั้ง | 413 ปีก่อนคริสตกาล | ||||||||
• สิ้นสุด | 345 BCE | ||||||||
|
พระเจ้าศิศุนาค ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ศิศุนาค เป็นเพียงอำมาตย์เท่านั้น ราชวงศ์นี้สืบต่อจากราชวงศ์หริยังกะของกษัตริย์นคติสักกะ และขึ้นสู่บัลลังก์หลังจากการจลาจลใน 421 ปีก่อนคริสตศักราช[2] เมืองหลวงของราชวงศ์นี้เริ่มแรกคือเมืองราชคฤห์ แต่ภายหลังเปลี่ยนมาเป็น ปาฏลีบุตร, ใกล้เคียงกับ ปัฏนะ ในปัจจุบัน ภายหลังราชวงศ์นี้ก็ล่มสลายให้กับ ราชวงศ์นันทะ ในปีที่ 345 ก่อนคริสตกาล[3]
อ้างอิง
แก้- ↑ Upinder Singh 2016, p. 273.
- ↑ Raychaudhuri 1972, pp. 193, 201.
- ↑ Raychaudhuri 1972, p. 201.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Mookerji, Radha Kumud (1988) [first published in 1966], Chandragupta Maurya and his times (4th ed.), Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-0433-3
- Singh, Upinder (2016), A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century, Pearson PLC, ISBN 978-81-317-1677-9
- Raychaudhuri, H.C. (1972), Political History of Ancient India, Calcutta: University of Calcutta
- Sastri, K. A. Nilakanta, บ.ก. (1988) [1967], Age of the Nandas and Mauryas (Second ed.), Delhi: Motilal Banarsidass, ISBN 978-81-208-0465-4
{{citation}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editorlink=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor-link=
) (help) - Mahajan, V.D. (2007) [1960], Ancient India, New Delhi: S. Chand, ISBN 978-81-219-0887-0