มุญัดดิด (อาหรับ: مجدد) เป็นคำศัพท์อิสลามสำหรับผู้ที่นำ "การฟื้นฟู" (อาหรับ: تجديد) ต่อศาสนา[1][2] ตามหะดีษของชาวมุสลิมที่เป็นที่นิยม หมายถึงบุคคลที่ปรากฏตัวในทุก ๆ ศตวรรษของปฏิทินอิสลาม เพื่อฟื้นฟูอิสลาม ชำระล้างองค์ประกอบภายนอกและคืนสู่ความบริสุทธิ์ดั้งเดิม ในยุคปัจจุบัน มูญัดดิดถูกมองว่าเป็นมุสลิมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษ[3] แนวคิดนี้มีพื้นฐานมาจากสุนัต (คำกล่าวของนบีมุฮัมมัดแห่งอิสลาม)[4] บันทึกโดย อะบูดาวูด รายงานจากอะบูฮุร็อยเราะฮ์ ซึ่งนบีมุฮัมมัดกล่าวว่า:

แท้จริงอัลลอฮ์จะะส่งมายังประชาชาตินี้ในทุกๆต้นร้อยปี นั่นคือบุรุษผู้ซึ่งจะฟื้นฟูศาสนาของประชาชาตินี้แก่มวลประชามุสลิม

— ซุนัน อะบีดาวูด, หะดีษหมายเลขที่ 4291[5]

อิคติลาฟ (ความขัดแย้ง) มีอยู่ในหมู่ผู้ตรวจสอบหะดีษที่แตกต่างกัน นักวิชาการเช่น อัซซะฮะบี และ อิบน์ ฮะญัร อัลอัสเกาะลานี ได้ตีความว่าคำว่า มุญัดดิด สามารถเข้าใจได้ว่าเป็นคำพหูพจน์ (มุญัดดิดีน) ดังนั้นจึงหมายถึงกลุ่มคน[6][7]

บรรดามุญัดดิด อาจรวมถึงนักวิชาการที่มีชื่อเสียง, ผู้ปกครองที่เคร่งศาสนา และขุนศึก[2]

รายชื่อของบรรดามุญัดดิด

แก้

รายชื่อของบรรดามุญัดดิด อ้างอิงจากซิยัร อะอ์ลาม อันนุบะลาอ์ โดย อัซซะฮะบี, เอานุลมับอูด โดย ชัมซิลฮักก์ อัลอะซีมอาบาดีย์, บางส่วนจากตัฟซีร อัลมะนาร โดย มุฮัมมัด เราะชีด ริฎอ และบางส่วนจากหนังสือของอัสซุยูฏี และอื่นๆ

ศตวรรษที่ 1:

แก้
  1. อุมัร อิบน์ อับดิลอะซีซ (ฮ.ศ. 61-101)[8]
  2. ฮะซัน อัลบัศรี (ฮ.ศ. 21-110)[8]

ศตวรรษที่ 2:

แก้
  1. มุฮัมมัด อิบน์ อิดรีส อัชชาฟิอี (ฮ.ศ. 150-204)[8]
  2. อะฮ์หมัด อิบน์ ฮัมบัล (ฮ.ศ. 164-241)[9]
  3. มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อัลบุคอรี (ฮ.ศ. 194-256)[10]
  4. มุสลิม อิบน์ อัลฮัจญาจญ์ (ฮ.ศ. 199/206-261)[10]
  5. อะบูดาวูด อัสซิญิสตานี (ฮ.ศ. 202-275)[10]

ศตวรรษที่ 3:

แก้
  1. อะฮ์หมัด อิบน์ ชุอัยบ์ อันนะซาอี (ฮ.ศ. 214-303)[8]
  2. อะบุลอับบาส อิบน์ ซุร็อยจญ์ (ฮ.ศ. 249-306)[8]
  3. มุฮัมมัด อิบน์ คุซัยมะฮ์ (ฮ.ศ. 223-311)[11]
  4. อะบุลฮะซัน อัลอัชอะรี (ฮ.ศ. 240-324)[12]

ศตวรรษที่ 4:

แก้
  1. อะบุฏฏ็อยยิบ ซะฮ์ล อัศเศาะอ์ลูกีย์ (เสียชีวิต 404)[13]
  2. อัลฮากิม อันนัยซาบูรี (ฮ.ศ. 321-405)[12]
  3. อะบูฮามิด อัลอิสฟะรอยีนี (ฮ.ศ. 344-406)[8]
  4. อะบูอุษมาน อัศศอบูนี (ฮ.ศ. 373-449)[14]
  5. อิบน์ ฮัซม์ อัลอันดะลุซี (ฮ.ศ. 384-456)[15]

ศตวรรษที่ 5:

แก้
  1. อะบูฮามิด อัลเฆาะซาลี (ฮ.ศ. 450-505)[8]
  2. ฮุซัยน์ อิบน์ มัสอูด อัลบะเฆาะวี (ฮ.ศ. 433/436-516)[16]
  3. อับดุลกอดิร อัลญัยลานี (ฮ.ศ. 470-561)[17]
  4. เศาะลาฮุดดีน อัลอัยยูบี (ฮ.ศ. 538-589)[18]

ศตวรรษที่ 6:

แก้
  1. อับดุลเฆาะนี อัลมักดิซี (ฮ.ศ.541-600)[8]
  2. อิบน์ กุดามะฮ์ อัลมักดิซี (ฮ.ศ. 541-620)[16]

ศตวรรษที่ 7:

แก้
  1. อิบน์ ดะกีก อัลอีด (ฮ.ศ. 625-702)[8]
  2. ชัยคุลอิสลาม อิบน์ ตัยมียะฮ์ (ฮ.ศ. 661-728)[19]
  3. อิบน์ ก็อยยิม อัลเญาะซียะฮ์ (ฮ.ศ. 691-751)[18]
  4. อะบูอิสฮาก อัชชาฏิบี (ฮ.ศ. 720-790)[18]

ศตวรรษที่ 8:

แก้
  1. อับดุรเราะห์มาน อิบน์ ค็อลดูน (ฮ.ศ. 732-808)[20]
  2. อิบน์ อัลวะซีร อัลยะมะนี (ฮ.ศ. 775-840)[18]
  3. ตะกียุดดีน อัลมักรีซี (ฮ.ศ.764-845)[21]

ศตวรรษที่ 9:

แก้
  1. อิบน์ อัลมุบัรร็อด อัลฮัมบะลี (ฮ.ศ. 840-909)[16]
  2. ซุลัยมาน อัลกอนูนี (ฮ.ศ. 900-974)[22]
  3. มุฮัมมัด อัลบิรกิวี (ฮ.ศ. 929-981)[18]

ศตวรรษที่ 10:

แก้
  1. ชัมซุดดีน อัรร็อมลี (ฮ.ศ. 957-1004)[10]
  2. มัรอี อัลกัรมี (ฮ.ศ. 988-1033)[23]
  3. กอฎี ซาดิฮ์ มุฮัมมัด (เสียชีวิต 1045)[24]

ศตวรรษที่ 11:

แก้
  1. อิบรอฮีม อัลกูรอนี (ฮ.ศ. 1023-1101)[10]
  2. ศอลิห์ อิบน์ มะฮ์ดี อัลมักบะลี (ฮ.ศ. 1047-1108)[18]
  3. ชาฮ์ วะลียุลลอฮ์ อัดดะฮ์ละวี (ฮ.ศ. 1114-1176)[10]
  4. มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อัศศ็อนอานี (ฮ.ศ. 1099-1182)[25]

ศตวรรษที่ 12:

แก้
  1. มุรตะฎอ อัซซะบีดี (ฮ.ศ. 1145-1205)[10]
  2. มุฮัมมัด อิบน์ อับดุลวะฮ์ฮาบ (ฮ.ศ. 1114-1206)[26]
  3. ศอลิห์ อิบน์ มุฮัมมัด อัลฟะลานี (ฮ.ศ. 1166-1218)[10]
  4. มุฮัมมัด อัชเชากานี (ฮ.ศ. 1229-1250)[18]

ศตวรรษที่ 13:

แก้
  1. มุฮัมมัด ศิดดีก ฮะซัน ข่าน อัลก็อนเนาญี (ฮ.ศ. 1248-1307)[10]
  2. มุฮัมมัด นะซีร ฮุซัยน์ อัดดะฮ์ละวี (ฮ.ศ. 1220-1320)[10]
  3. มุฮัมมัด ญะมาลุดดีน อัลกอซิมี (ฮ.ศ. 1283-1332)[27]
  4. อับดุรเราะห์มาน อิบน์ นาศิร อัสซะอ์ดี (ฮ.ศ. 1307-1376)
  5. มุฮัมมัด อัลอะมีน อัชชันกีฏี (ฮ.ศ. 1325-1393)[28]

ศตวรรษที่ 14:

แก้
  1. มุฮัมมัด ตะกียุดดีน อัลฮิลาลี (ฮ.ศ. 1311-1407)[29]
  2. อับดุลอะซีซ อิบน์ บาซ (ฮ.ศ. 1330-1420)[28]
  3. มุฮัมมัด นาศิรุดดีน อัลอัลบานี (ฮ.ศ. 1333-1420)[28]
  4. มุฮัมมัด อิบน์ ศอลิห์ อัลอุษัยมีน (ฮ.ศ. 1347-1421)[28]

อ้างอิง

แก้
  1. Faruqi, Burhan Ahmad (16 August 2010). The Mujaddid's Conception of Tawhid. p. 7. ISBN 9781446164020. สืบค้นเมื่อ 31 December 2014.
  2. 2.0 2.1 Meri, Josef W., บ.ก. (2006). Medieval Islamic Civilization: An Encyclopedia. Psychology Press. p. 678. ISBN 9780415966900.
  3. "Mujaddid – Oxford Islamic Studies Online". www.oxfordislamicstudies.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-09-03.
  4. Neal Robinson (2013), Islam: A Concise Introduction, Routledge, ISBN 978-0878402243, Chapter 7, pp. 85–89
  5. Abi Dawud 4291[ลิงก์เสีย]
  6. Fath al-Baari (13/295)
  7. Taareekh al-Islam (23/180)
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 ซิยัร อะอ์ลาม อันนุบะลาอ์ เล่ม 14 หน้า 203 โดย ชัมซุดดีน อัซซะฮะบี
  9. มินอะอ์ลาม อัลมุญัดดิดูน หน้า 7 โดย ศอลิห์ อัลเฟาซาน
  10. 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 เอานุลมะอ์บูด เล่ม 11 หน้า 301-310 โดย มุฮัมมัด ชัมซุกฮักก์ อัลอาบาดี
  11. วีดิโอเทป: ซีรีส์ใหม่ หลักศรัทธาเบื้องต้น | ตอนที่ 4 : หลักการ ศรัทธาของชาวสะลัฟ โดย อามีน ลอนา
  12. 12.0 12.1 อิซาตุลคุฟาอ์ เล่ม 7 หน้า 77 โดย ชาฮ์วะลียุลลอฮ์ อัดดะฮ์ละวี
  13. ซิยัร อะอ์ลาม อันนุบะลาอ์ เล่ม 17 หน้า 208-209 โดย ชัมซุดดีน อัซซะฮะบี
  14. Ayub, Zulfiqar (2 May 2015). THE BIOGRAPHIES OF THE ELITE LIVES OF THE SCHOLARS, IMAMS & HADITH MASTERS Biographies of The Imams & Scholars. Zulfiqar Ayub Publications. p. 167.
  15. ดูเพิ่ม ตัฟซีร อัลมะนาร โดย มุฮัมมัด เราะชีด ริฎอ
  16. 16.0 16.1 16.2 أرشيف ملتقى أهل الحديث - قائمة المجددين من أهل السنة
  17. มัจญ์มูอ์ อัลฟะตาวา เล่ม 10 หน้า 455 โดย ชัยคุลอิสลาม อิบน์ ตัยมียะฮ์
  18. 18.0 18.1 18.2 18.3 18.4 18.5 18.6 วารสารอัลมะนาร ฉบับ 1 หน้า 3-4 โดย มุฮัมมัด เราะชีด ริฎอ
  19. มินอะอ์ลาม อัลมุญัดดิดูน หน้า 35 โดย ศอลิห์ อัลเฟาซาน
  20. อับเกาะริยาต อิบน์ ค็อลดูน หน้า 117 โดย อะลี อับดุลวาฮิด วาฟี
  21. Ahmad Bin Ali al-Maqrizi al-Shafi'i (d. 845H) on Tawhid, Shirk, Rububiyyah, Uluhiyyah, Shafaa'ah by Abu 'Iyaad Amjad Rafiq
  22. ชัซเราะตุซซะฮับ เล่ม 8 หน้า 373 โดย อิบน์ อัลอิมาด อัลฮัมบะลี
  23. อัสซุฮุล อัลวาบิละฮ์ หน้า 463 โดย อับดุลลอฮ์ บิน ฮุมัยด์
  24. السلفية العثمانية: إحيائية إسلامية في مواجهة البدع الصوفية[ลิงก์เสีย]
  25. ฟะฮะร็อส อัลฟะฮาริส วัลอัษบาต หน้า 513 โดย อับดุลฮัยย์ อิบน์ อับดุลกะบีร อัลกิตตานี
  26. มินอะอ์ลาม อัลมุญัดดิดูน หน้า 83 โดย ศอลิห์ อัลเฟาซาน
  27. เกาะวาอิด อัตตะห์ดีษ หน้า 9 โดย ญะมาลุดดีน อัลกอซิมี
  28. 28.0 28.1 28.2 28.3 العلماء المجددون شروطهم صفاتهم ونماذج منهم
  29. محاضرة واجب العلماء تجاه الدعوة جامعة الملك عبدالعزيز بجدة عام ١٤٠٤ هجري