มุฮัมมัด อัลบุคอรี

มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อัลบุคอรี (เปอร์เซีย: بخاری; ‎21 กรกฎาคม ค.ศ.810 – 1 กันยายน ค.ศ.870) มักเรียกเป็น อิหม่ามบุคอรี[5] เป็นนักวิชาการอิสลามชาวเปอร์เซีย[6][7][8] ที่ถือกำเนิดในบูฆอรอ (เมืองหลวงของแคว้นบุคอรอ ประเทศอุซเบกิสถาน) เขาเป็นคนรวมรวมชุดฮะดีษลงในหนังสือที่มีชื่อว่า เศาะฮีฮ์ อัลบุคอรี ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มชาวมุสลิมนิกายซุนนี และหนังสืออื่น ๆ เช่น อัลอะดะบุลมุฟร็อด[9]

มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอิล อัลบุคอรี
محمد بن اسماعيل البخاري
คำนำหน้าชื่ออิหม่ามบุคอรี
อะมีรุลมุอ์มินีน ฟี อัลฮะดีษ
ส่วนบุคคล
เกิด21 กรกฎาคม ค.ศ. 810
13 เชาวาล ฮ.ศ. 194
มรณภาพ1 กันยายน ค.ศ. 870(870-09-01) (60 ปี)
1 เชาวาล ฮ.ศ.256
Khartank ซามาร์กันต์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
ที่ฝังศพKhartank (ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน)
ศาสนาอิสลาม
ชาติพันธุ์ชาวเปอร์เซีย
ยุคยุคทองของอิสลาม
(สมัยอับบาซียะฮ์)
ภูมิภาครัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
นิกายซุนนี
สำนักคิดอิจญ์ติฮาด[1]
ลัทธิอะษะรียะฮ์[3]
ความสนใจหลักฮะดีษ
อะกีดะฮ์
ผลงานโดดเด่นซอฮิฮ์ อัล-บุคอรี
อัลอะดะบุลมุฟร็อด
อาชีพมุฮัดดิษ
ตำแหน่งชั้นสูง
อิหม่ามบุคอรี
สุสานของอิหม่ามบุคอรีใกล้ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน
ผู้บันทึกฮะดีษ
นับถือ ในอิสลามนิกายซุนนี
สักการสถานหลักKhartank (ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน)

ประวัติ

แก้

เกิด

แก้

มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอิล อัลบุคอรี อัลญุอ์ฟี เกิดในวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ.810 (13 เชาวาล ฮ.ศ.194) ในเมืองบุคอรอ, ทรานโซเซียนา[10] (ปัจจุบันคือประเทศอุซเบกิสถาน).[6][11]

การศึกษาฮะดีษ และการเดินทาง

แก้
 
เส้นทางที่บุคอรีค้นหาและเรียนฮะดีษ

ตอนที่เขามีอายุ 16 ปี เขาไปทำฮัจญ์ที่มักกะฮ์พร้อมกับน้องและแม่ของเขา โดยตอนอยู่ที่นั่น เขาเดินทางไปที่สำนักอิสลามเพื่อสอบถามนักปราชญ์และแลกเปลี่ยนฮะดีษ.

หนังสือของเขาเป็นที่แนะนำในกลุ่มมุสลิมนิกายซุนนีอย่างมาก และถือเป็นหนังสือฮะดีษที่เที่ยงตรงที่สุด แต่บุคอรีไม่ได้ทำฮะดีษอย่างเดียวเท่านั้น เขายังผลิตหนังสืออื่นอีก เช่น อัล-อะดาบ อัล-มุฟรัด เป็นต้น

วาระสุดท้าย

แก้

ในปีค.ศ.864/ฮ.ศ.250 เขาเดินทางไปที่นิชาปูร์ แล้วเขาพบกับมุสลิม อิบน์ อัล-ฮัจญาจ์ โดยบุคอรีรับเขาเป็นศิษย์ และหลังจากนั้น มุสลิมก็กลายเป็นผู้รวบรวมฮะดีษในหนังสือชื่อ ซอฮิฮ์ มุสลิม. แต่เนื่องจากว่ามีปัญหาทางการเมือง จึงทำให้บุคอรีย้ายไปที่ Khartank, ซึ่งเป็นหมู่บ้านใกล้ซามาร์กันต์ แล้วเสียชีวิตในปีค.ศ.870/ฮ.ศ.256.[12]

อ้างอิง

แก้
  1. Ibn Taymiyya. Majmu' al-Fatawa (ภาษาอาหรับ). Vol. 20. p. 40.
  2. Al-Bukhari. Sahih al-Bukhari (ภาษาอาหรับ). Vol. 9. p. 124.
  3. Brown, Jonathan (2007). "Three: The Genesis of al-Bukhārī and Muslim". The Canonization of al-Bukhari and Muslim: The Formation and Function of the Sunni Hadith Canon. Koninklijke Brill NV, Leiden, The Netherlands: Brill. pp. 78–80. ISBN 978-90-04-15839-9. ..it is not very accurate to employ the term “rationalist” in any sense when describing al-Bukhārī, since he was a diehard traditionalist. Rather, we should view him as a representative of Ibn Hanbal’s original traditionalist school... Al-Bukhari’s allegiance to the ahl al-hadith camp and to Ibn Hanbal himself is thus obvious. Indeed, he quotes Ibn Hanbal as evidence for his position on the lafz.. It is more accurate to describe al-Bukhari as a conservative traditionalist
  4. Ibn Rāhwayh, Isḥāq (1990), Balūshī, ʻAbd al-Ghafūr ʻAbd al-Ḥaqq Ḥusayn (บ.ก.), Musnad Isḥāq ibn Rāhwayh (1st ed.), Tawzīʻ Maktabat al-Īmān, pp. 150–165
  5. อาหรับ: أبو عبد الله محمد بن إسماعيل بن إبراهيم بن المغيرة بن بردزبه الجعفي البخاري: อบูอับดุลลอฮ์ มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อิบน์ อิบรอฮีม อิบน์ อัลมุฆีเราะฮ์ อิบน์ บัรดิซบะฮ์ อัลญุอ์ฟี อัลบุคอรี
  6. 6.0 6.1 Salaahud-Deen ibn ʿAlee ibn ʿAbdul-Maujood (ธันวาคม 2005). The Biography of Imam Bukhaaree. Translated by Faisal Shafeeq (1st ed.). Riyadh: Darussalam. ISBN 9960969053.
  7. Bourgoin, Suzanne Michele; Byers, Paula Kay, บ.ก. (1998). "Bukhari". Encyclopedia of World Biography (2nd ed.). Gale. p. 112. ISBN 9780787625436.
  8. Lang, David Marshall, บ.ก. (1971). "Bukhārī". A Guide to Eastern Literatures. Praeger. p. 33. ISBN 9780297002741.
  9. "Al-Adab al-Mufrad". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 ธันวาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2019.
  10. "Encyclopædia Britannica".[ลิงก์เสีย]
  11. Melchert, Christopher. "al-Bukhārī". Encyclopaedia of Islam, THREE. Brill Online.[ลิงก์เสีย]
  12. Tabish Khair (2006). Other Routes: 1500 Years of African and Asian Travel Writing. Signal Books. pp. 393–. ISBN 978-1-904955-11-5.

สารานุกรม

แก้

ปฐมภูมิ

แก้
  • al-Bukhārī, al-Jāmiʿ al-ṣaḥīḥ, 9 vols. In 3, Būlāq 1311–3, repr. Liechtenstein 2001
  • al-Bukhārī, al-Taʾrīkh al-kabīr, 4 vols. In 8, Hyderabad 1358–62/1941–5, 1377/19582
  • al-Dhahabī, Taʾrīkh al-Islām, ed. ʿUmar ʿAbd al-Salām Tadmurī (Beirut 1407–21/1987–2000), 19 (251–60 A.H.):238–74
  • Ibn Abī Ḥātim, K. al-Jarḥ wa-l-taʿdīl, 4 vols. In 8, Hyderabad 1360/1941
  • Ibn ʿAdī al-Qaṭṭān, al-Kāmil fī ḍuʿafāʾ al-rijāl, ed. ʿĀdil Aḥmad ʿAbd al-Mawjūd et al., Beirut, 1418/1997
  • Ibn ʿAdī al-Qaṭṭān, Asāmī man rawā ʿanhum Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī, ed. ʿĀmir Ḥasan Ṣabrī, Beirut, 1414/1994
  • Ibn ʿAsākir, Taʾrīkh madīnat Dimashq, ed. Muḥibb al-Dīn Abī Saʿīd al-ʿAmrawī, 70 vols., Beirut 1415/1995
  • Ibn Ḥajar, Fatḥ al-bārī, ed. ʿAbd al-ʿAzīz b. ʿAbdallāh Ibn Bāz, 15 vols. Beirut, 1428–9/2008
  • al-Khaṭīb al-Baghdādī, Taʾrīkh Baghdād aw Madīnat al-Salām (Cairo 1349/1931), 2:4–34
  • al-Khaṭīb al-Baghdādī, Taʾrīkh Madīnat al-Salām, ed. Bashshar ʿAwwād Maʿrūf (Beirut 1422/2001), 2:322–59
  • al-Nawawī, Tahdhīb al-asmāʾ wa-l-lughāt, Cairo 1927
  • al-Qasṭallānī, Irshād al-sārī Ṣaḥīḥ al-Bukhārī, ed. Muḥammad ʿAbd al-ʿAzīz al-Khālidī, 15 vols., Beirut 1416/1996.

ทุติยภูมิ

แก้
  • Ghassan Abdul-Jabbar, Bukhari, London, 2007
  • Muḥammad ʿIṣām ʿArār al-Ḥasanī, Itḥāf al-qāriʾ bi-maʿrifat juhūd wa-aʿmāl al-ʿulamāʾ ʿalā Ṣaḥīḥ al-Bukhārī, Damascus 1407/1987
  • Jonathan Brown, The canonization of al-Bukhārī and Muslim, Leiden 2007
  • Eerik Dickinson, The development of early Sunnite ḥadīth criticism, Leiden 2001
  • Mohammad Fadel, "Ibn Ḥajar’s Hady al-sārī," JNES 54 (1995), 161–97
  • Johann W. Fück, "Beiträge zur Überlieferungsgeschichte von Bukhārī’s Traditionssammlung," ZDMG 92 (n.s. 17, 1938), 60–87
  • Ignaz Goldziher, Muslim studies, ed. S. M. Stern, trans. C. R. Barber and S. M. Stern (Chicago 1968–71), 2:216–29
  • Nizār b. ʿAbd al-Karīm b. Sulṭān al-Ḥamadānī, al-Imām al-Bukhārī, Mecca 1412/1992
  • al-Ḥusaynī ʿAbd al-Majīd Hāshim, al-Imām al-Bukhārī, Cairo n.d.
  • Abū Bakr al-Kāfī, Manhaj al-Imām al-Bukhārī, Beirut 1421/2000
  • Najm ʿAbd al-Raḥmān Khalaf, Istidrākāt ʿalā Taʾrīkh al-turāth al-ʿArabī li-Fuʾād Sizkīn fī ʿilm al-ḥadīth (Beirut 1421/2000), 135–264
  • Scott C. Lucas, "The legal principles of Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī and their relationship to classical Salafi Islam," ILS 13 (2006), 289–324
  • Christopher Melchert, "Bukhārī and early hadith criticism," JAOS 121 (2001), 7–19
  • Christopher Melchert, "Bukhārī and his Ṣaḥīḥ," Le Muséon 123 (2010), 425–54
  • Alphonse Mingana, An important manuscript of the traditions of Bukhārī, Cambridge 1936
  • Rosemarie Quiring-Zoche, "How al-Bukhārī’s Ṣaḥīḥ was edited in the Middle Ages. ʿAlī al-Yūnīnī and his rumūz," BEO 50 (1998), 191–222
  • Fuat Sezgin, Buhârî’nin kaynakları, Istanbul 1956
  • Umm ʿAbdallāh bt. Maḥrūs al-ʿAsalī et al., Fihris Muṣannafāt al-Imām Abī ʿAbdallāh Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī…fīmā ʿadā al-Ṣaḥīḥ, Riyadh 1408/1987–8

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้