มิยาโมโตะ มูซาชิ
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก |
มิยาโมโตะ มูซาชิ (ญี่ปุ่น: 宮本 武蔵 โรมาจิ: Miyamoto Musashi; 12 มีนาคม ค.ศ. 1584 ที่โอฮาระ-โช – 13 มิถุนายน ค.ศ. 1645}}[1] รู้จักกันในชื่อ ชินเม็ง ทาเกโซ, มิยาโมโตะ เบ็นโนซูเกะ หรือในชื่อศาสนาพุทธว่า นิเต็น โดรากุ[2] เป็นนักดาบ, นักปรัชญา, นักยุทธศาสตร์, นักเขียน และโรนินชาวญี่ปุ่น เขาเป็นที่รู้จักจากเรื่องราวดาบสองคมและสถิติไม่แพ้ใครใน 61 ครั้ง และถือเป็นเค็นเซ นักบุญดาบญี่ปุ่น[3] เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักนิเต็น อิจิ-รีวหรือสไตล์นักดาบแบบนิโตะ อิจิ-รีว และช่วงสุดท้ายได้ตีพิมพ์ โกรินโนะโชะ (ญี่ปุ่น: 五輪の書 โรมาจิ: Go Rin No Sho) และ ดกโกโด
มิยาโมโตะ มูซาชิ 宮本武蔵 | |||||
---|---|---|---|---|---|
![]() ภาพของมิยาโมโตะ มูซาชิ (ยุคเอโดะ) | |||||
เกิด | มิยาโมโตะ เบ็นโนซูเกะ ป. 1584 จังหวัดฮาริมะหรือจังหวัดมิมาซากะ, ประเทศญี่ปุ่น | ||||
เสียชีวิต | 13 มิถุนายน ค.ศ. 1645 (ข้อผิดพลาดนิพจน์: "{" เป็นอักขระเครื่องหมายวรรคตอนที่ไม่รู้จัก ปี) จังหวัดฮิโงะ, ประเทศญี่ปุ่น | ||||
ชื่อภาษาเกิด | 宮本武蔵 | ||||
ชื่ออื่น | นิเต็น โดรากุ; ชินเม็ง มูซาชิ โนะ คามิ ฟูจิวาระ โนะ ฮารูโนบุ | ||||
ที่อยู่ | ญี่ปุ่น | ||||
รูปแบบ | นิเต็น อิจิ-รีว เค็นจุตสึ (二天一流), เอ็นเม-รีว (圓明流), (二天流) | ||||
นักเรียนเด่น | ทาเกมูระ โยเอมง; เทราโอะ มาโงโนโจ; เทราโอะ โมโตเมโนซูเกะ; ฟูรูฮาชิ โซซาเอมง | ||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||
คันจิ | 宮本 武蔵 | ||||
ฮิรางานะ | みやもと むさし | ||||
คาตากานะ | ミヤモト ムサシ | ||||
|
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ Tokitsu, Kenji (1998). Miyamoto Musashi: 17th century Japanese saber master: man and work, myth and reality ; Miyamoto Musashi : maître de sabre japonais du XVIIe siècle : l'homme et l'œuvre, mythe et réalité. https://www.worldcat.org/oclc/41259596: Editions désiris. pp. 19, 20. ISBN 9782907653541.CS1 maint: location (link)
- ↑ Toyota Masataka. "Niten Ki (A Chronicle of Two Heavens)", in Gorin no Sho, ed. Kamiko Tadashi (Tokyo: Tokuma-shoten, 1963), 239.
- ↑ Miyamoto Musashi, trans.S. F. Kaufman (1994), Book Of Five Rings, Tuttle Publishing.
- ↑ "Budokan". Miyamoto Musashi school. 2009. สืบค้นเมื่อ August 12, 2020.
อ่านเพิ่มแก้ไข
นิยายแก้ไข
- Sean Michael, Wilson (2014). Musashi (A Graphic Novel). Shambhala. (Manga/historical fiction)
- Sean Michael, Wilson (2012). The Book of Five Rings: a graphic novel. Shambhala. (Manga/historical fiction)
- Inoue, Takehiko (1998). Vagabond. Viz Communications. (Manga/historical fiction)
- Yoshikawa, Eiji (1995). Musashi (reprint ed.). Kodansha International. ISBN 978-4-7700-1957-8. (Historical fiction)
นิทานสำหรับเด็กแก้ไข
- Moore, J.S. (2014). Under the Sun: The Miyamoto Musashi Story. Understanding Apples Press. ISBN 978-1-5028-0491-4.
เรียงความแก้ไข
- Tokitsu, Kenji (2004). Miyamoto Musashi: His Life and Writings. Shambhala Publications, Inc. ISBN 978-1-59030-045-9.
- Turnbull, Stephen R. (1990). The Lone Samurai and the Martial Arts. London: Arms and Armour Press. ISBN 978-0-85368-967-6.
- Wilson, William Scott (2004). The Lone Samurai. Kodansha International. ISBN 978-4-7700-2942-3.
- De Lange, William (2010). The Real Musashi: The Bushu denraiki. Floating World Editions. ISBN 978-1-891640-56-8.
- De Lange, William (2011). The Real Musashi: The Bukoden. Floating World Editions. ISBN 978-1-891640-60-5.
- De Lange, William (2016). The Real Musashi: A Miscellany. Floating World Editions. ISBN 978-1-891640-86-5.
- De Lange, William (2014). Miyamoto Musashi: A Life in Arms. Floating World Editions. ISBN 978-1-891640-629.
คำให้การแก้ไข
- Iwami Toshio Harukatsu soke (11th successor to Miyamoto Musashi), Musashi's teachings – philosophy first: translation in English, Dragon n°7, January 2005, ed. Mathis ; French original text: L'enseignement de Musashi est d'abord une philosophie
- Iwami Toshio Harukatsu soke (11th successor to Miyamoto Musashi), Musashi's principles, Dragon n°13, January 2006, ed. Mathis; French original text: Les principes de Musashi
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
ค้นหาเกี่ยวกับ มิยาโมโตะ มูซาชิ เพิ่มที่โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย | |
สื่อ จากคอมมอนส์ | |
อัญพจน์ จากวิกิคำคม | |
ข้อความต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ | |
รายการฐานข้อมูล Q193344 จากวิกิสนเทศ |