ภาษาแอราเมอิกใหม่

ภาษาแอราเมอิกใหม่ หรือ ภาษาแอราเมอิกสมัยใหม่ เป็นวิธภาษาของภาษาแอราเมอิกที่พัฒนาขึ้นในสมัยกลางตอนปลายถึงสมัยใหม่ตอนต้น และยังคงปรากฏเป็นภาษาถิ่น (ภาษาพูด) ในชุมชนที่พูดภาษาแอราเมอิกสมัยใหม่ในปัจจุบัน[2] การจำแนกภาษาแอราเมอิกใหม่เป็นหัวข้อที่นักวิชาการในด้านแอราเมอิกศึกษา (Aramaic studies) สนใจเป็นพิเศษ[3] โดยเสนอการจำแนกออกเป็นกลายแบบ เช่น สอง (ตะวันตกและตะวันออก), สาม (ตะวันตก, กลาง และตะวันออก) หรือสี่ (ตะวันตก, กลาง, ตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันออกเฉียงใต้) กลุ่มหลัก[4][5]

ภาษาแอราเมอิกใหม่
แอราเมอิกสมัยใหม่
ภูมิภาค:อิรัก, อิหร่าน, ซีเรีย, ตุรกี, เลบานอน และชาวอัสซีเรียพลัดถิ่น
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
แอโฟรเอชีแอติก
กลุ่มย่อย:
กลอตโตลอก:aram1259  (Aramaic)[1]

ในด้านภาษาศาสตร์สังคม ภาษาแอราเมอิกใหม่ได้รับการจำแนกตามเกณฑ์ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์และภาษาศาสตร์ศาสนาหลายแห่ง ครอบคลุมหลายเชื้อชาติและศาสนา และครอบคลุมกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์, ยูดาห์, มันดาอี และอิสลาม[6]

อ้างอิง

แก้
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Aramaic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Beyer 1986, p. 53.
  3. Brock 1989, p. 11–23.
  4. Yildiz 2000, p. 23–44.
  5. Kim 2008, p. 505–531.
  6. Heinrichs 1990.

ข้อมูล

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้