ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มเอฟ

ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มเอฟ จะแข่งขันระหว่างวันที่ 11 ถึง 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562[1] โดยในกลุ่มนี้ประกอบด้วยสหรัฐ ไทย ชิลี และสวีเดน[2] สองอันดับแรกจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย และถ้าอันดับที่สามทำผลงานได้ดีเป็น 4 อันดับแรกจะได้ผ่านเข้ารอบด้วยเช่นกัน[3]

ทีม แก้

ตำแหน่งที่จับสลากได้ ทีมชาติ โถ สมาพันธ์ เส้นทางการเข้ารอบสุดท้าย วันที่เข้ารอบสุดท้าย จำนวนครั้งที่เข้ารอบสุดท้าย เข้ารอบสุดท้ายครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุด อันดับโลก
ธันวาคม 2561[nb 1] มีนาคม 2562
F1   สหรัฐ 1 คอนคาแคฟ ชนะเลิศคอนคาแคฟวีเมนส์แชมเปียนชิป 14 ตุลาคม พ.ศ. 2561 8 2015 ชนะเลิศ (1991 1999 และ 2015) 1 1
F2   ไทย 3 เอเอฟซี อันดับที่ 4 ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 12 เมษายน พ.ศ. 2561 2 2015 รอบแบ่งกลุ่ม (2015) 29 34
F3   ชิลี 4 คอนเมบอล รองชนะเลิศโกปาอาเมริกาเฟเมนินา 22 เมษายน พ.ศ. 2561 1 เข้ารอบเป็นครั้งแรก 38 39
F4   สวีเดน 2 ยูฟ่า ชนะเลิศกลุ่มที่ 4 รอบคัดเลือกโซนยุโรป 4 กันยายน พ.ศ. 2561 8 2015 รองชนะเลิศ (2003) 9 9

หมายเหตุ

ตารางคะแนน แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สหรัฐ 3 3 0 0 18 0 +18 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สวีเดน 3 2 0 1 7 3 +4 6
3   ชิลี 3 1 0 2 2 5 −3 3
4   ไทย 3 0 0 3 1 20 −19 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : การตัดสินกรณีที่มีผลเสมอกัน

การแข่งขัน แก้

เวลาที่แสดงเป็นเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) ซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง[1]

ชิลี พบ สวีเดน แก้

ชิลี  0–2  สวีเดน
รายงาน Asllani   83'
Janogy   90+4'
ผู้ชม: 15,875 คน[4]
ผู้ตัดสิน: ลูซิลา เวเนกัส (เม็กซิโก)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชิลี[5]
 
 
 
 
 
 
 
 
สวีเดน[5]
GK 1 Christiane Endler (กัปตัน)
RB 15 Su Helen Galaz
CB 3 Carla Guerrero   78'
CB 18 Camila Sáez
LB 17 Javiera Toro
CM 8 Karen Araya
CM 10 Yanara Aedo   84'
CM 4 Francisca Lara
RF 20 Daniela Zamora
CF 9 María José Urrutia   59'
LF 21 Rosario Balmaceda
ผู้เล่นสำรอง:
MF 11 Yessenia López   90+6'   59'
DF 2 Rocío Soto   84'
ผู้จัดการทีม:
José Letelier
 
GK 1 Hedvig Lindahl
RB 4 Hanna Glas
CB 5 Nilla Fischer
CB 3 Linda Sembrant
LB 6 Magdalena Eriksson   67'
CM 23 Elin Rubensson   81'
CM 9 Kosovare Asllani
CM 17 Caroline Seger (กัปตัน)
RF 10 Sofia Jakobsson
CF 11 Stina Blackstenius   65'
LF 18 Fridolina Rolfö   65'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 19 Anna Anvegård   65'
MF 8 Lina Hurtig   65'
FW 7 Madelen Janogy   81'
ผู้จัดการทีม:
Peter Gerhardsson

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Kosovare Asllani (สวีเดน)[6]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Mayte Chávez (เม็กซิโก)
Enedina Caudillo (เม็กซิโก)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Marie-Soleil Beaudoin (แคนาดา)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Princess Brown (จาเมกา)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Chris Beath (ออสเตรเลีย)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
Kylie Cockburn (สกอตแลนด์)

สหรัฐ พบ ไทย แก้

สหรัฐ  13–0  ไทย
Morgan   12'53'74'81'87'
Lavelle   20'56'
Horan   32'
Mewis   50'54'
Rapinoe   79'
Pugh   85'
Lloyd   90+2'
รายงาน
ผู้ชม: 18,591 คน
ผู้ตัดสิน: ลาอูรา ฟอร์ตูนาโต (อาร์เจนตินา)
 
 
 
 
 
 
 
 
สหรัฐ[7]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไทย[7]
GK 1 Alyssa Naeher
RB 5 Kelley O'Hara
CB 7 Abby Dahlkemper
CB 8 Julie Ertz   69'
LB 19 Crystal Dunn
CM 16 Rose Lavelle   57'
CM 3 Sam Mewis
CM 9 Lindsey Horan
RF 17 Tobin Heath   57'
CF 13 Alex Morgan
LF 15 Megan Rapinoe (กัปตัน)
ผู้เล่นสำรอง:
FW 10 Carli Lloyd   57'
FW 23 Christen Press   57'
FW 2 Mallory Pugh   69'
ผู้จัดการทีม:
Jill Ellis
 
GK 18 สุกัญญา ช.เจริญยิ่ง
RB 9 วารุณี เพ็ชรวิเศษ   71'
CB 2 กาญจนาพร แสนคุณ
CB 3 ณัฐกานต์ ชินวงษ์
LB 10 สุนิสา สร้างไธสง
DM 5 อินทร์อร พันธุ์ชา
CM 20 วิลัยพร บุตรด้วง   35'
CM 7 ศิลาวรรณ อินต๊ะมี
RM 21 กาญจนา สังข์เงิน (กัปตัน)
LM 12 รัตติกาล ทองสมบัติ   65'
CF 8 มิรันดา ไนลด์
ผู้เล่นสำรอง:
MF 6 พิกุล เขื่อนเพ็ชร   35'
FW 17 ธนีกาญจน์ แดงดา   72'   65'
FW 13 อรทัย ศรีมณี   71'
ผู้จัดการทีม:
หนึ่งฤทัย สระทองเวียน

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Alex Morgan (สหรัฐ)[8]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[7]
Mariana de Almeida (อาร์เจนตินา)
Mary Blanco (โคลอมเบีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Claudia Umpiérrez (อุรุกวัย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Luciana Mascaraña (อุรุกวัย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Mauro Vigliano (อาร์เจนตินา)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
José María Sánchez Martínez (สเปน)
Sarah Jones (นิวซีแลนด์)

สวีเดน พบ ไทย แก้

สวีเดน  5–1  ไทย
Sembrant   6'
Asllani   19'
Rolfö   42'
Hurtig   81'
Rubensson   90+6' (ลูกโทษ)
รายงาน กาญจนา   90+1'
ผู้ชม: 9,354 คน[9]
ผู้ตัดสิน: ซาลิมา มูคันซันกา (รวันดา)
 
 
 
 
 
 
 
 
สวีเดน[10]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไทย[10]
GK 1 Hedvig Lindahl
RB 4 Hanna Glas
CB 5 Nilla Fischer
CB 3 Linda Sembrant
LB 6 Magdalena Eriksson
CM 23 Elin Rubensson
CM 9 Kosovare Asllani
CM 17 Caroline Seger (กัปตัน)   69'
RF 8 Lina Hurtig
CF 19 Anna Anvegård   77'
LF 18 Fridolina Rolfö   46'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 7 Madelen Janogy   46'
FW 22 Olivia Schough   69'
FW 20 Mimmi Larsson   77'
ผู้จัดการทีม:
Peter Gerhardsson
 
GK 1 วราภรณ์ บุญสิงห์
RB 5 อินทร์อร พันธุ์ชา
CB 3 ณัฐกานต์ ชินวงษ์   90+5'
CB 19 พิสมัย สอนไสย์
LB 10 สุนิสา สร้างไธสง
DM 6 พิกุล เขื่อนเพ็ชร
CM 7 ศิลาวรรณ อินต๊ะมี   89'
CM 8 มิรันดา ไนลด์
RM 17 ธนีกาญจน์ แดงดา   45+1'
LM 12 รัตติกาล ทองสมบัติ   56'
CF 21 กาญจนา สังข์เงิน (กัปตัน)
ผู้เล่นสำรอง:
FW 13 อรทัย ศรีมณี   56'   81'
MF 15 อรพินท์ แหวนเงิน   81'
MF 11 สุดารัตน์ ชูชื่น   89'
ผู้จัดการทีม:
หนึ่งฤทัย สระทองเวียน

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Kosovare Asllani (สวีเดน)[11]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[10]
Bernadettar Kwimbira (มาลาวี)
Lidwine Rakotozafinoro (มาดากัสการ์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Katalin Kulcsár (ฮังการี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Katalin Török (ฮังการี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Felix Zwayer (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Paolo Valeri (อิตาลี)
Sarah Jones (นิวซีแลนด์)

สหรัฐ พบ ชิลี แก้

สหรัฐ  3–0  ชิลี
Lloyd   11'35'
Ertz   26'
รายงาน
ผู้ชม: 45,594 คน[12]
ผู้ตัดสิน: ไรม์ ฮุสไซน์ (เยอรมนี)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สหรัฐ[13]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชิลี[13]
GK 1 Alyssa Naeher
RB 11 Ali Krieger
CB 7 Abby Dahlkemper   82'
CB 4 Becky Sauerbrunn
LB 12 Tierna Davidson
CM 6 Morgan Brian
CM 8 Julie Ertz   46'
CM 9 Lindsey Horan   23'   59'
RF 23 Christen Press
CF 10 Carli Lloyd (กัปตัน)
LF 2 Mallory Pugh
ผู้เล่นสำรอง:
FW 22 Jessica McDonald   46'
MF 20 Allie Long   88'   59'
DF 14 Emily Sonnett   82'
ผู้จัดการทีม:
Jill Ellis
 
GK 1 Christiane Endler (กัปตัน)
RB 15 Su Helen Galaz   90+4'
CB 3 Carla Guerrero
CB 18 Camila Sáez
LB 17 Javiera Toro
CM 6 Claudia Soto   46'
CM 8 Karen Araya
CM 4 Francisca Lara   76'   89'
RF 20 Daniela Zamora
CF 9 María José Urrutia   68'
LF 21 Rosario Balmaceda
ผู้เล่นสำรอง:
MF 11 Yessenia López   46'
FW 19 Yessenia Huenteo   80'   68'
MF 14 Daniela Pardo   89'
ผู้จัดการทีม:
José Letelier

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Christiane Endler (ชิลี)[14]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[13]
Kylie Cockburn (สกอตแลนด์)
Mihaela Tepusa (โรมาเนีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Esther Staubli (สวิตเซอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Susanne Küng (สวิตเซอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Clément Turpin (ฝรั่งเศส)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Drew Fischer (แคนาดา)
Maryna Striletska (ยูเครน)

สวีเดน พบ สหรัฐ แก้

สวีเดน  0–2  สหรัฐ
รายงาน Horan   3'
Andersson   50' (เข้าประตูตัวเอง)
 
 
 
 
 
 
 
 
สวีเดน[15]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สหรัฐ[15]
GK 1 Hedvig Lindahl
RB 15 Nathalie Björn
CB 13 Amanda Ilestedt
CB 3 Linda Sembrant
LB 2 Jonna Andersson
DM 9 Kosovare Asllani   79'
CM 16 Julia Zigiotti Olme
CM 17 Caroline Seger (กัปตัน)   63'
RM 10 Sofia Jakobsson   87'
LM 22 Olivia Schough   56'
CF 11 Stina Blackstenius
ผู้เล่นสำรอง:
FW 18 Fridolina Rolfö   56'
DF 4 Hanna Glas   63'
MF 8 Lina Hurtig   79'
ผู้จัดการทีม:
Peter Gerhardsson
 
GK 1 Alyssa Naeher
RB 5 Kelley O'Hara   59'
CB 7 Abby Dahlkemper
CB 4 Becky Sauerbrunn
LB 19 Crystal Dunn
CM 3 Sam Mewis
CM 16 Rose Lavelle   63'
CM 9 Lindsey Horan
RF 17 Tobin Heath
CF 13 Alex Morgan (กัปตัน)   46'
LF 15 Megan Rapinoe   83'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 10 Carli Lloyd   46'
FW 23 Christen Press   63'
FW 2 Mallory Pugh   83'
ผู้จัดการทีม:
Jill Ellis

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Tobin Heath (สหรัฐ)[16]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Ekaterina Kurochkina (รัสเซีย)
Petruța Iugulescu (โรมาเนีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Esther Staubli (สวิตเซอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Susanne Küng (สวิตเซอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Danny Makkelie (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Chris Beath (ออสเตรเลีย)
Chrysoula Kourompylia (กรีซ)

ไทย พบ ชิลี แก้

ไทย  0–2  ชิลี
รายงาน วราภรณ์   48' (เข้าประตูตัวเอง)
Urrutia   80'
ผู้ชม: 13,567 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี ไคห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไทย[17]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชิลี[17]
GK 1 วราภรณ์ บุญสิงห์   85'
RB 9 วารุณี เพ็ชรวิเศษ   90+1'
CB 3 ณัฐกานต์ ชินวงษ์
CB 19 พิสมัย สอนไสย์   59'
LB 10 สุนิสา สร้างไธสง
DM 5 อินทร์อร พันธุ์ชา
CM 6 พิกุล เขื่อนเพ็ชร
CM 8 มิรันดา ไนลด์
RM 12 รัตติกาล ทองสมบัติ   58'
LM 7 ศิลาวรรณ อินต๊ะมี   73'
CF 21 กาญจนา สังข์เงิน (กัปตัน)
ผู้เล่นสำรอง:
MF 15 อรพินท์ แหวนเงิน   58'
MF 11 สุดารัตน์ ชูชื่น   73'
DF 2 กาญจนาพร แสนคุณ   90+1'
ผู้จัดการทีม:
หนึ่งฤทัย สระทองเวียน
 
GK 1 Christiane Endler (กัปตัน)
RB 2 Rocío Soto
CB 3 Carla Guerrero
CB 18 Camila Sáez
LB 4 Francisca Lara
DM 8 Karen Araya   46'
CM 10 Yanara Aedo
CM 11 Yessenia López
RM 20 Daniela Zamora
LM 21 Rosario Balmaceda
CF 9 María José Urrutia
ผู้เล่นสำรอง:
FW 13 Javiera Grez   46'   88'
FW 7 María José Rojas   88'
ผู้จัดการทีม:
José Letelier

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
María José Urrutia (ชิลี)[18]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Sarah Jones (นิวซีแลนด์)
Maria Salamasina (ซามัว)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Gladys Lengwe (แซมเบีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Bernadettar Kwimbira (มาลาวี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Paolo Valeri (อิตาลี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Drew Fischer (แคนาดา)
Mihaela Tepusa (โรมาเนีย)

การคาดโทษ แก้

คะแนนแฟร์เพลย์จะถูกนำมาใช้ในฐานะเงื่อนไขการตัดสินการเข้ารอบถ้าโดยรวมและสถิติเฮดทูเฮดของแต่ละทีมเสมอกัน. โดยคิดคะแนนขึ้นอยู่กับจำนวนใบเหลืองและจำนวนใบแดงที่ได้รับในแต่ละนัดของทุกกลุ่มทั้งหมดดังต่อไปนี้:[3]

  • ใบเหลืองใบแรก: ลบ 1 คะแนน;
  • ใบแดงทางอ้อม (ใบเหลืองใบที่สอง): ลบ 3 คะแนน;
  • ใบแดงโดยตรง: ลบ 4 คะแนน;
  • ใบเหลืองและใบแดงโดยตรง: ลบ 5 คะแนน;
ทีม นัดที่ 1 นัดที่ 2 นัดที่ 3 คะแนน
                                   
  สวีเดน 1 1 −2
  สหรัฐ 2 1 −3
  ชิลี 2 3 −5
  ไทย 1 2 2 −5

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Match Schedule FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA.com. 8 December 2018.
  2. "FIFA Women's World Cup France 2019 match schedule confirmed". FIFA. 8 December 2018. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  3. 3.0 3.1 "Regulations – FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-13. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  4. "Match report – Group F – Chile v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. 5.0 5.1 "Tactical Line-up – Group F – Chile v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  6. "Chile v Sweden – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-04. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  7. 7.0 7.1 7.2 "Tactical Line-up – Group F – USA v Thailand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  8. "USA v Thailand – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-07. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  9. "Match report – Group F – Sweden v Thailand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  10. 10.0 10.1 10.2 "Tactical Line-up – Group F – Sweden v Thailand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  11. "Sweden v Thailand – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  12. "Match report – Group F – USA v Chile" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  13. 13.0 13.1 13.2 "Tactical Line-up – Group F – USA v Chile" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  14. "USA v Chile – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-07. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  15. 15.0 15.1 "Tactical Line-up – Group F – Sweden v USA" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  16. "Sweden v USA – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-15. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  17. 17.0 17.1 "Tactical Line-up – Group F – Thailand v Chile" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "Thailand v Chile – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้