คารัมบิต (ภาษามีนังกาเบา: kurambik หรือ karambiak) เป็นมีดโค้งที่คล้ายกรงเล็บขนาดมือถือจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นที่รู้จักในภาษาอินโดนีเซียและภาษามาเลเซียพื้นบ้านในชื่อ เกอรัมบิต และเรียกในชื่อ คารัมบิต สำหรับประเทศฟิลิปปินส์และในกลุ่มประเทศตะวันตกเป็นส่วนใหญ่[1]

คารัมบิต
เทคนิคการจับคารัมบิตแบบดั้งเดิม
ชนิดใบมีดที่ซ่อนอยู่/เครื่องมือการเกษตร
แหล่งกำเนิดอินโดนีเซีย
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทใบมีดส่วนคมหนึ่งหรือสองด้าน, โค้งเป็นรูปเสี้ยว
ชนิดด้ามจับเขาควายน้ำ, ทำด้วยไม้, งาช้าง
ฝักดาบ/ปลอกเขาควายน้ำ, ทำด้วยไม้

แหล่งกำเนิด แก้

 
พระบรมรูปแห่งอาทิตยวรมันผู้ทรงเป็นกษัตริย์มีนังกาเบา ซึ่งทรงถือเครัมบิต

เชื่อกันว่า คารัมบิตมีต้นกำเนิดในหมู่ชาวมีนังกาเบาของจังหวัดสุมาตราตะวันตก[2] โดยตามคติชน สิ่งนี้ได้แรงบันดาลใจจากกรงเล็บของเสือ เช่นเดียวกับอาวุธในภูมิภาคเป็นส่วนมาก ซึ่งแต่เดิมออกแบบมาเพื่อใช้ถางรากในการเกษตร, รวบรวม และปลูกข้าว ในขณะที่สามารถใช้มันเป็นอาวุธ โดยได้มีการเพิ่มความโค้งของใบมีดให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มศักยภาพในการตัด จากการค้าขายผ่านประเทศอินโดนีเซียและการติดต่อระยะใกล้กับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน จึงได้มีการกระจายคารัมบิตไปยังประเทศกัมพูชา, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย และฟิลิปปินส์ในที่สุด[3][4]

ในวัฒนธรรมร่วมสมัย แก้

อ้างอิง แก้

  1. Farrer, D. S. (5 June 2009). Shadows of the Prophet: Martial Arts and Sufi Mysticism. Springer Science & Business Media. p. 91. ISBN 978-1-4020-9356-2.
  2. Agus Mulyana (2010). "KERAMBIT: Senjata Genggam Khas Minangkabau". Sumedang Online. สืบค้นเมื่อ 2014-10-09.
  3. Proyek Pembinaan Permuseuman Jakarta (Indonesia). Koleksi pilihan museum-museum negeri propinsi. Proyek Pembinaan Permuseuman Jakarta: 1989. 65 pages
  4. D. Christo (2014). "Karambit FAQ". Karambit.com.
  5. Purushothaman, Venka (2002). Narratives: Notes on a Cultural Journey : Cultural Medallion Recipients, 1979-2001. National Arts Council. pp. 136, 140. ISBN 978-981-04-6737-1.
  6. "Sam Fisher's Karambit". Unfinished Man. สืบค้นเมื่อ 16 September 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  • Karambit.com - Articles, history and legalities about the karambit