ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามองโกเลีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|fam1=[[ตระกูลภาษาอัลไตอิก|อัลไตอิก]] (''เป็นที่โต้แย้ง'')
|fam2=[[กลุ่มภาษามองโกล|มองโกลิก]]
|fam3=[[กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก |ตะวันออก]]
|fam4=[[กลุ่มภาษาโอยรัตออยรัต-คอลคาฮัลฮ์ |ออยรัต-คัลข่าฮัลฮ์]]
|fam5=[[กลุ่มภาษาคอลคาฮัลฮ์-บูเรียต |คัลข่าฮัลฮ์-บูเรียต]]
|nation=[[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]] [[เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน]] ([[ประเทศจีน|จีน]]) และ[[สาธารณรัฐบูเรียตียา]] ([[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]])
| script = [[อักษรมองโกเลีย]], [[อักษรซิริลลิก]], [[อักษรพักส์-พักปา]], [[อักษรซานาบาซาร์ชญานวัชระทรงเหลี่ยม]], [[อักษรโซยอมโบสวยัมภู]]
|iso1=mn|iso2=mon
|lc1=mon|ld1=Mongolian (generic)|ll1=none
บรรทัด 18:
|lc3=mvf|ld3=Peripheral Mongolian}}
 
'''ภาษามองโกเลีย''' เป็น[[ภาษาทางการ]]ของ[[ประเทศมองโกเลีย]] และเป็น[[ภาษา]]หลักของชาว[[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]]ส่วนใหญ่ ซึ่งคนผู้พูดส่วนใหญ่จะพูดแบบ[[สำเนียงคอลคา|คอลคา]]ฮัลฮ์ (KhalkhaХалх) เป็นมาตรฐานนอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]และ[[ประเทศรัสเซีย|สหพันธรัฐรัสเซีย]] ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้าย[[ภาษาตุรกี]]หรือ[[ภาษาฟินน์ฟินแลนด์]] มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (enэнэ) นั่น (terтэр) นี่ทั้งหลาย (edэд narнар) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน
 
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ==
ภาษามองโกเลียเป็นภาษาประจำชาติของ[[ประเทศมองโกเลีย]] มีผู้พูดราว 2.5 ล้านคน และยังเป็นภาษาราชการใน[[เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน]]ในประเทศจีนที่มีผู้พูดประมาณ 2.7 ล้านคนหรือมากกว่า แต่จำนวนผู้พูดภาษานี้ที่แน่นอนในจีนประเมินได้ยาก มีผู้พูดภาษามองโกเลียสำเนียงคาร์ชินและสำเนียงคอร์ชินต่างๆใน[[มณฑลเหลียวหนิง]] จี[[มณฑลจี๋หลิน]] และเฮยหลงเจียง[[มณฑลเฮย์หลงเจียง]]ในบริเวณที่ติดต่อกับมองโกเลียในด้วย
== การจัดจำแนกและสำเนียง ==
ภาษามองโกเลียจัดเป็นภาษาใน[[กลุ่มภาษามองโกล]] ซึ่งสมาชิกในกลุ่มนี้รวมทั้ง[[ภาษามองโกลคามนิกัน]]และ[[ภาษาดากูร์]] ที่ใช้พูดทางตะวันออกของมองโกเลียและในซินเจียงอุยกูร์ [[ภาษาชิรายูกูร์]] [[ภาษาบอนัน]] [[ภาษาต้งเซี่ยง]] [[ภาษามองเกอร์]] และ[[ภาษากังเจีย]] ที่ใช้พูดในบริเวณชิงไห่และกานซู และอาจรวมถึง[[ภาษาโมโฆล]]ที่เป็นภาษาตายไปแล้วใน[[อัฟกานิสถาน]] เส้นแบ่งระหว่างการเป็นสำเนียงและเป็นภาษาเอกเทศภายในกลุ่มภาษามองโกลยังเป็นที่โต้เถียงกัน
 
สำเนียงคอลคาฮัลฮ์ถือเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษามองโกเลีย แต่การกำหนดสำเนียงย่อยยังมีความเห็นต่างกัน Sanžeev (1953) เสนอว่าภาษามองโกเลียมี 3 สำเนียงคือ คอลคาฮัลฮ์ ชาคาร์ซาฮาร์ และออร์ดอส ส่วนบูร์ยัตและโอยบูร์ยัตและออยรัตเป็นภาษาเอกเทศ Luvsanvandan (1959) เสนอต่างไปว่าภาษามองโกเลียประกอบไปด้วยกลุ่มสำเนียงกลาง (คอลคาฮัลฮ์ ชาคาร์ซาฮาร์ ออร์ดอส) กลุ่มสำเนียงตะวันออก (คาร์ชินฮาร์ชิน คอร์ชินฮอร์ชิน) กลุ่มสำเนียงตะวันตก (โอยรัตออยรัต คาลมึกซ์ฮัลมิก) และกลุ่มสำเนียงเหนือ (ภาษาบูร์ยัตทั้งสองสำเนียง) นักวิชาการตะวันตกบางกลุ่มแยกภาษาออร์ดอสออกมาเป็นภาษาเอกเทศ ในมองโกเลียใน แบ่งภาษามองโกเลียเป็น 3 สำเนียงคือ สำเนียงมองโกเลียใต้ สำเนียงโอยรัตออยรัต และสำเนียงบาร์ฆู-บูร์ยัต
 
== คำยืม ==
ในสมัยโบราณ ภาษามองโกเลียมีคำยืมจาก[[ภาษาเตอร์กิกโบราณ]] [[ภาษาสันสกฤต]]ผ่านทาง[[ภาษาอุยกูร์]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] [[ภาษาอาหรับ]] [[ภาษาทิเบต]] [[กลุ่มภาษาตังตุงกูซิก|ภาษาตุงกูสิ]] และ[[ภาษาจีน]] คำยืมในยุคปัจจุบันมาจาก[[ภาษารัสเซีย]] [[ภาษาอังกฤษ]] และ[[ภาษาจีน]]โดยเฉพาะในมองโกเลียใน
== ระบบการเขียน ==
การเขียนภาษามองโกเลียมีความหลากหลาย [[อักษรมองโกเลีย]]ที่พัฒนามาจาก[[อักษรอุยกูร์]]พัฒนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ต่อมา ระหว่าง พ.ศ. 2473 – 2475 มีการเขียนภาษามองโกเลียด้วยอักษรละตินเป็นระยะเวลาสั้นๆ หลังจากนั้น ได้เปลี่ยนมาใช้[[อักษรซีริลลิก]] ในช่วง พ.ศ. 2531 – 2534 มีความพยายามฟื้นฟูอักษรมองโกเลียมาใช้อีกแต่ล้มเหลว ในมองโกเลียใน สาธารณรัฐประชาชนจีน ภาษามองโกเลียเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาจีนกลาง ใช้อักษรมองโกเลีย เคยใช้อักษรซีริลลิกก่อนจะเกิดความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียต
เส้น 32 ⟶ 34:
[[ไฟล์:Phagspa imperial edict dragon year.jpg|thumbnail|300px|left|เอกสารเขียนด้วยอักษรพักส์-ปา]]
[[ไฟล์:Soyombo example zanabazar.png|framed|right|ตัวอย่างอักษรโซยอมโบแต่ละพยางค์]]
[[ภาษามองโกเลียโบราณ]]เป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาที่เป็นบรรพบุรุษของภาษามองโกเลีย เอกสารภาษามองโกเลียพบครั้งแรกในจารึกยิซุงเก ซึ่งเขียนด้วยอักษรมองโกเลีย อายุราว พ.ศ. 1767 – 1768 ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 – 20 ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษร 4 ชนิดคือ อักษรมองโกเลียที่พัฒนามาจากอักษรอุยกูร์ [[อักษรพักส์-พักปา]] อักษรจีนและ[[อักษรอาหรับ]] นักวิชาการบางคนเรียกภาษามองโกเลียที่เขียนด้วยอักษรสามชนิดหลังว่าภาษามองโกเลียยุคกลาง [[ภาษามองโกเลียคลาสสิก]]เกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 – 24 ซึ่งเป็นภาษาเขียนที่มีมาตรฐานในการสะกดคำและการเรียงประโยค และมีความแตกต่างจากภาษามองโกเลียสมัยใหม่ ใน พ.ศ. 2229 [[อักษรโซยอมโบสวยัมภู]]ซึ่งใช้สำหรับเอกสารทางพุทธศาสนาได้ถูกประดิษฐ์ขึ้น
 
{{วิกิภาษาอื่น|mn}}