ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เฉพาะมีบทความ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{Infobox person
| pre-nominals =
| name = ศรัณยู วงษ์กระจ่าง
| post-nominals =
| image = Saranyu - Zuzu Makkawan 2008-8-20.JPG
| image_upright =
| alt =
| caption = ศรัณยูในปี 2551
| birth_name = นรัณยู วงษ์กระจ่าง
| birth_date = {{วันเกิด|2503|10|17}}
| birth_place = [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ประเทศไทย
| death_date = {{วันตาย-อายุ|2563|6|10|2503|10|17}}
| death_place = [[กรุงเทพมหานคร]] ประเทศไทย
| death_cause = [[มะเร็งตับ]]
| alma_mater = [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
| occupation = นักแสดง พิธีกร ผู้กำกับ นักการเมือง
| years_active = พ.ศ. 2522–2563
| employer =
| known_for =
| notable_works = <!-- produces label "Notable work"; may be overridden by |credits=, which produces label "Notable credit(s)"; or by |works=, which produces label "Works"; or by |label_name=, which produces label "Label(s)" -->
| television = ''เรื่องจริงผ่านจอ'' ฯลฯ
| party = {{plainlist|
* [[พรรคไทยรักไทย]]
* [[พรรคการเมืองใหม่]]}}
| movement = [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
| boards =
| spouse = [[หัทยา วงศ์กระจ่าง]] (2537–2563, เขาเสียชีวิต)
| children = ศิตลา วงษ์กระจ่าง<br>ศุภรา วงษ์กระจ่าง
| mother = <!-- may be used (optionally with father parameter) in place of parents parameter (displays "Parent(s)" as label) -->
| father = <!-- may be used (optionally with mother parameter) in place of parents parameter (displays "Parent(s)" as label) -->
| relatives = [[ธเนศ วรากุลนุเคราะห์]] (พี่ชาย)
| module = {{กล่องข้อมูล นักแสดง
| embed = yes
| เมขลา = '''นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม''' <br/>2537—''[[ทวิภพ]]''
| ตุ๊กตาทอง =
| imdb_id = 1033693
| thaifilmdb_id = 03984
}}
| signature =
| signature_size =
| signature_alt =
| footnotes =
}}
 
'''ศรัณยู วงษ์กระจ่าง''' ([[ชื่อเล่น]]: ตั้ว) มีชื่อจริงว่าคือ '''นรัณยู วงษ์กระจ่าง''' (17 ตุลาคม 2503 – 10 มิถุนายน 2563) เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับ ก่อนหน้านั้นเขาประกอบอาชีพเป็นสถาปนิก และร่วมกิจกรรม[[ละคอนถาปัด]]สมัยเรียนอยู่ ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 มีผลงานครั้งแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการ[[เพชฌฆาตความเครียด]] ในปี พ.ศ. 2527
 
เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที ผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ [[เก้าอี้ขาวในห้องแดง]] (2527) [[ระนาดเอก]] (2528) [[มัสยา]] (2528) [[บ้านทรายทอง]] และ [[พจมาน สว่างวงศ์]] (2530) [[เกมกามเทพ]] (2531) [[เจ้าสาวของอานนท์]] (2531) [[ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง]] (2532) [[รัตติกาลยอดรัก]] (2532) [[วนาลี]] (2533) [[รอยมาร]] (2533) [[วนิดา]] (2534) [[ไฟโชนแสง]] (2535) [[น้ำเซาะทราย]] (2536) [[ทวิภพ]] (2537) [[มนต์รักลูกทุ่ง]] (2538) [[ด้วยแรงอธิษฐาน]] (2539) สุริโยไท (2543) และ [[นายฮ้อยทมิฬ]] (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ [[สู่ฝันอันยิ่งใหญ่]] (2530){{อ้างอิง}}
บรรทัด 55:
จบการศึกษาระดับมัธยมจาก [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] รุ่นที่ 92/96 และจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (รหัสเข้า 21)<ref>{{cite web|title=ปรากฏการณ์เฉลียง-ถมดิน|url=http://www.chaliang.com/new/prakod_tomdin1_3.html|website=www.chaliang.com|accessdate=9 April 2017}}</ref> อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้มุ่งมั่นประกอบวิชาชีพที่เรียนมา โดยศรัณยูให้สัมภาษณ์ทางเว็บไซต์ BK ในภายหลังว่า "[[ละคอนถาปัด]] ชักนำผมสู่สิ่งที่กลายเป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย หลังจากจบปี 3 ผมรู้ตัวว่าผมไม่ได้อยากจะเป็นสถาปนิก" (ภาษาอังกฤษ) <ref>{{cite news|last1=Virasathienpornkul|first1=Patra|title=Saranyu "Tua" Wongkrajarng On Politics, Movie Flop and Today's Industry|url=http://bk.asia-city.com/events/article/interview-saranyu-%E2%80%9Ctua%E2%80%9D-wongkrajarng|work=BK Magazine Online|language=en}}</ref>
 
ช่วงชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ศรัณยูกวาดรับบทเด่นใน "[[ละคอนถาปัด]]" หรือละครเวทีโดยนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ รวมทั้งข้ามไปเล่นให้ละครเวทีของคณะอักษรศาสตร์ด้วย<ref name="always">{{cite web|title=ศรัณยู วงษ์กระจ่าง พระเอกยอดนิยมของวงการบันเทิงยุค 80-90|url=http://70-90memory.blogspot.com/2014/02/blog-post.html|website=ALWAYS ON MY MIND|language=Thai}}</ref> <ref>{{cite news|title=ตั้ว ย้อนรอยละครถา'ปัตย์|url=http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9500000081884|work=Manager Online|language=Thai}}</ref> ศรัณยูกล่าวว่า การถือกำเนิดทางด้านการแสดงของเขามี [[สดใส พันธุมโกมล|รศ.สดใส พันธุมโกมล]] เป็นผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาศิลปะการแสดงให้เขาด้วยการยื่นบทนักแสดงนำในละครเวทีคณะอักษรศาสตร์เรื่อง คนดีที่เสฉวน และ พรายน้ำ<ref name="artchula">{{cite web|title=ปิดม่านโรงละครอักษรฯ จุฬาฯ เวทีแห่งความฝันในความทรงจำ|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9500000031416|website=ผู้จัดการรายวัน|language=Thai}}</ref> นำไปสู่อาชีพนักแสดงซึ่งกลายมาเป็นอาชีพที่ศรัณยูรักที่สุด<ref name=deepinterview/> ไม่ใช่เพียงแค่พรสวรรค์ทางด้านการแสดง หน้าตาอันหล่อเหลายังดึงดูดให้มีแฟนๆติดตาม และละครถา'ปัดในช่วงนั้นกลายเป็นสิ่งที่วัยรุ่นจนถึงวัยทำงานในเมืองต้องไปดู ภาพลักษณ์ของการเป็นพระเอกละครถา'ปัด เป็นดรัมเมเยอร์ และเป็นนักรักบี้ สมัยมหาวิทยาลัย ทำให้ศรัณยูกลายเป็นดาวเด่นในสมัยเรียน จนมีกลุ่มซูโม่พูดถึงว่า สาวๆชอบแวะมาคณะสถาปัตย์เพราะ 2 เหตุผล คือ ห้องน้ำสะอาด กับ มาดู ศรัณยู
 
== ชีวิตการทำงานในวงการบันเทิง ==
 
=== พ.ศ. 2524–2529 ===
ศรัณยูเป็นพระเอกที่มีช่วงการครองความนิยมยาวนานที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย เริ่มผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2524 โดยได้รับการชักชวนให้ถ่ายแบบนิตยสารดิฉัน และมีผลงานเดินแบบ จากนั้นศรัณยูจึงได้มีผลงานพิธีกรรายการโทรทัศน์ เสียงติดดาว และ ยิ้มใส่ไข่<ref name="always"/> หลังสำเร็จการศึกษา ศรัณยูมีผลงานนำแสดงละครโทรทัศน์เรื่องแรกในปี 2526 คือเรื่อง [[เลือดขัตติยา]] ซึ่งดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ [[ทมยันตี]] สร้างโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง โดยศรัณยูรับบท อโณทัย คู่กับ [[วาสนา สิทธิเวช]] รับบท ดารา ร่วมด้วย นพพล โกมารชุน อุทุมพร ศิลาพันธ์ และภิญโญ ทองเจือ แม้ว่าจะกำหนดวันเวลาออกอากาศทางช่อง 3 ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ 21.00 น. แล้วแต่ก็ไม่ได้รับอนุมัติให้ออกอากาศ ด้วยมีเนื้อหาที่อาจกระทบต่อความมั่นคง<ref>{{cite web|title=พริกกะเกลือ : การเมืองแบนละคร?|url=http://www.komchadluek.net/news/detail/148832|website=คมชัดลึก}}</ref>
 
ผลงานละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศเรื่องแรกของศรัณยูจึงเป็นผลงานละครของ [[มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช]] เรื่อง [[เก้าอี้ขาวในห้องแดง]] ออกอากาศ 9 กุมภาพันธ์ 2527 ทางช่อง 3 จากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันของ [[สุวรรณี สุคนธา]] ซึ่งเป็นเรื่องราวรักสามเส้าและปัญหาชีวิตวัยรุ่น ร่วมกับ [[นพพล โกมารชุน]] [[มยุรา ธนบุตร]] [[อุทุมพร ศิลาพันธ์]] และ [[ยุรนันท์ ภมรมนตรี]] เก้าอี้ขาวในห้องแดง เป็นละครที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากเนื้อหา ฝีมือการแสดง และรูปแบบที่นำสมัย เกิดกระแสนิยมเหล่านักแสดง เสื้อผ้า ทรงผมของนักแสดงหลัก เพียงเรื่องแรกก็ทำให้ศรัณยูมีชื่อเสียงในวงกว้าง<ref name="always"/> ในปีเดียวกัน ศรัณยูมีผลงานละครโทรทัศน์กับช่อง 7 โดย [[ดาราวิดีโอ]] เรื่อง [[บ้านสอยดาว]] จากบทประพันธ์ของ [[โบตั๋น]] ออกอากาศ 28 กันยายน 2527 - 26 มกราคม 2528 โดยรับบท เอื้อตะวัน ร่วมด้วย [[มยุรา ธนบุตร]] [[อุทุมพร ศิลาพันธ์]] และ [[ธงไชย แมคอินไตย์]] จากนั้นมีผลงานต่อเนื่องกับช่อง 7 ปี 2528 กับเรื่อง [[ระนาดเอก]] ออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 21.00น. แม้จะเป็นละครเกี่ยวกับดนตรีไทย แต่มีการผูกเรื่องได้สนุกสนานกับการประชันกันของบรมครูทางระนาด 2 สาย จากรุ่นบรมครูถ่ายทอดมาสู่รุ่นศิษย์ ละครเรื่องนี้สร้างชื่อให้ ศรัณยู ได้แจ้งเกิดในวงการละคร พร้อมกับนางเอก [[สินจัย หงษ์ไทย]] ที่ลงละครเรื่องนี้เป็นเรื่องแรก ความดังของละครเรื่องนี้เล่ากันว่า พวกปี่พาทย์ที่ทำงานศพตามวัดต่างๆถ้าคืนไหนมีงานประโคมก็จะต้องตั้งโทรทัศน์ไว้ข้างวงดนตรีเลยทีเดียว<ref>{{cite web|title=ละครเรื่องระนาดเอก
|url=https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1091568524193826&id=546962821987735|website=MUE 101 Survey of Thai Music}}</ref> จากนั้นในปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้ให้ ศรัณยู รับบทคู่กับนางเอกยอดนิยม [[มนฤดี ยมาภัย]] เป็นครั้งแรกในละครค่าย [[ดาราวิดีโอ]] เรื่อง [[มัสยา]] ออกอากาศ 25 ตุลาคม 2528 - 1 มีนาคม 2529 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอันมาก ด้วยความพีคของตอนอวสานทำให้ช่องขยายวันออกอากาศจากศุกร์-เสาร์เป็น ศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
 
ปี 2529 ศรันยูมีผลงานทางช่อง 3 และ ช่อง 7 ช่องละ 1 เรื่อง โดยทางช่อง 7 เป็นละครค่ายกันตนา เรื่อง [[จิตรกร]] ศรัณยูรับบทจิตรกรโรคจิต คู่กับนางเอก ปวีณา ชารีฟสกุล กับเรื่องราวฆาตกรรมซ่อนเงื่อน ในขณะที่ทางช่อง 3 ศรัณยูได้รับบท กามนิต ในละครแนวภารตะ [[กามนิต-วาสิฏฐี]] คู่กับ [[จริยา สรณะคม]] เป็นเรื่องแรก ร่วมด้วย ดิลก ทองวัฒนา สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ และ พิราวรรณ ประสพศาสตร์ นอกจากนี้ ศรัณยูได้รับการชักชวนให้ร่วมเขียนบทละคร [[ทะเลเลือด]] (2529) ที่ดัดแปลงจากนวนิยายของ [[อกาธา คริสตี้]] กับ [[ภาสุรี ภาวิไล]] และ [[มารุต สาโรวาท]] ซึ่งเป็นผลงานละครเรื่องแรกในฐานะผู้จัดละครของ [[วรายุฑ มิลินทจินดา]]<ref>{{cite web|title=โลกของ "ไก่-วรายุฑ" โลกนี้คือละคร|url=https://www.sakulthai.org/node/3593|website=Sakulthai.com}}</ref>
 
=== พ.ศ. 2530–2531 ===
 
หลังจากช่อง 7 ชิมลางจับคู่ ศรัณยู กับนางเอกยอดนิยม มนฤดี ยมาภัยในมัสยา ซึ่งประสบความสำเร็จด้วยดี ในปี 2530 [[ดาราวิดีโอ]] ได้มอบโปรเจกต์ใหญ่กับวรรณกรรมคลาสสิคที่มีแฟนละครรอชมเสมออย่าง [[บ้านทรายทอง]] ออกอากาศ 9 มกราคม 2530 - 29 มีนาคม 2530 ศรัณยู รับบท ม.ร.ว.ภราดาพัฒน์ระพี สว่างวงศ์ / ชายกลาง คู่กับ [[มนฤดี ยมาภัย]] ในบทพจมาน ด้วยบทที่เขียนได้สนุกและนักแสดงฝีมือยอดเยี่ยม ทำให้เกิดกระแสฟีเว่อร์บ้านทรายทอง พจมานกับทรงผมเปียคู่ เด็กๆเล่นบทบาทเลียนแบบคุณชายน้อยกันทั่วบ้านทั่วเมือง และคุณชายกลางที่กลายเป็นชายในฝันของสาวๆในเวลานั้นและกลายเป็นภาพจำของบทชายกลางในเวลาต่อมา<ref>{{cite news|last1=ชาติสุทธิชัย|first1=ยุรชัฏ|title=ชวนไปดูคนโขน หนังดีที่ต้องดู|url=http://www.manager.co.th/Columnist/ViewNews.aspx?NewsID=9540000108971|website=MGR Online|accessdate=15 April 2017}}</ref> กระแสฟีเว่อร์ฟีเวอร์ทำให้มีการนำภาพยนตร์ [[บ้านทรายทอง]] (2523) ที่โด่งดังอย่างมากเมื่อ 7 ปีก่อนกลับมาเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ใหม่ เมื่อบ้านทรายทองจบลง ช่อง 7 ได้ส่ง [[พจมาน สว่างวงศ์]] มาให้ชมต่อทันที ออกอากาศ 3 เมษายน 2530 - 21 มิถุนายน 2530
 
หลังจากนั้น ศรัณยู ได้รับบทนำในละครเวที [[สู่ฝันอันยิ่งใหญ่]] (Man of La Mancha) ผลงานของผู้กำกับ [[ยุทธนา มุกดาสนิท]]<ref>{{cite web|title=เหยื่ออธรรม-สู่ฝันอันยิ่งใหญ่|url=http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9510000042346&Page=2|website=MGR Online|accessdate=15 April 2017}}</ref><ref>{{cite web|title=THEATRE REVIEW The dream lives on |url=http://www.dailyxpress.net/search/page.news.php?clid=13&id=2874|website=The Nation}}</ref> เปิดแสดงเมื่อวันที่ 28 ส.ค. – 2 ก.ย. พ.ศ. 2530 ณ โรงละครแห่งชาติ การรับบท เซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้ ของศรัณยู และ [[จรัล มโนเพ็ชร]] และบท อัลดอนซ่า ของ [[นรินทร ณ บางช้าง]] ได้รับการยกย่องในฝีมือการแสดงที่สร้างความประทับใจเป็นอันมาก ละครเวทีได้ผลตอบรับยอดเยี่ยมเป็นกระแสดัง ตั๋วเต็มหมดทุกที่นั่งจนคนออแน่นเต็มบันไดทางเดิน<ref>{{cite web|title="ดอนกีโฮเต้" สู่ฝันอันยิ่งใหญ่...จะไกลแค่ไหนไม่เคยสิ้นหวัง|url=http://www.thaioctober.com/forum/index.php?PHPSESSID=rqjkp2du81q5mrilu1gh6lii92&topic=891.msg33874#msg33874|website=ThaiOctober.com|accessdate=15 April 2017}}</ref>
 
ในปีเดียวกัน ศรัณยู มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก ผลงานกำกับของ [[ธนิตย์ จิตนุกูล]] กับหนังกระบวนการต่อสู้คดีในชั้นศาล เรื่อง [[อย่าบอกว่าเธอบาป]] คู่กับดาราเจ้าบทบาท [[สินจัย หงษ์ไทย]]<ref>{{cite web|title=60 ปี ธนิตย์ จิตนุกูล กับ 4 หนังไทยระดับปรากฏการณ์ในอดีต|url=http://movie.mthai.com/movie-news/thaimovie-news/203173.html|website=Bioscope magazine|accessdate=10 April 2017}}</ref> หลังจากความสำเร็จของบ้านทรายทอง ศรัณยู ได้มีผลงานทางช่อง 7 อีก 1 เรื่องคือ [[บริษัทจัดคู่]] ออกอากาศเดือนเมษายน – 4 กรกฎาคม 2531 ก่อนจะทิ้งช่วงไปนาน ในขณะที่ทางฝั่งช่อง 3 ได้ตัวศรัณยูไปลงละครหลายต่อหลายเรื่อง ตั้งแต่การกลับมาพบกันอีกครั้งกับนางเอก [[จริยา สรณะคม]] ในเรื่อง [[อวสานเซลส์แมน|อวสานของเซลส์แมน]] ในปี 2530 ร่วมกับ พิศาล อัครเศรณี และ พงศ์พัฒน์ วชิรบรรจง โดยเรื่องนี้ศรัณยูได้ร่วมเขียนบทโทรทัศน์กับ [[วีรประวัติ วงศ์พัวพันธ์]] และในปีเดียวกันนี้ละคร [[ปริศนา]] (2530) ของผู้จัด [[วรายุฑ มิลินทจินดา]] โด่งดังเป็นพลุแตกทำให้เกิดเสียงเรียกร้องให้สร้างอีก 2 เรื่องในซีรีส์นี้ของ [[ว.ณ ประมวญมารค]] วรายุฑยืนยันสร้าง [[เจ้าสาวของอานนท์]] และ [[รัตนาวดี]] พร้อมกับเผยว่าได้ดึงตัวพระเอกคิวทองอย่าง ศรัณยู มารับบท อานนท์
 
ปี 2531 ศรัณยู มีผลงานทางช่อง 3 ถึง 4 เรื่อง เริ่มต้นด้วย [[อาศรมสาง]] ร่วมกับ รังสิมา กสิกรานันท์, อภิรดี ภวภูตานนท์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ออกอากาศ 26 มีนาคม – 7 พฤษภาคม 2531 ตามด้วยละครเรื่อง [[ทายาท]] ร่วมกับ ชุดาภา จันทเขตต์, ดวงตา ตุงคะมณี, สุประวัติ ปัทมสูต ออกอากาศ 25 กรกฎาคม – 7 กันยายน 2531 เวลา 20.40 – 21.40 น. จากนั้นศรัณยูรับบทคู่ [[จริยา สรณะคม]] อีกครั้งในเรื่อง [[เกมกามเทพ]] ออกอากาศ 7 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน 2531 ปีเดียวกัน ก็ถึงคิวของละครที่รอคอย [[เจ้าสาวของอานนท์]] ซึ่งศรัณยูรับบทคู่ [[จริยา สรณะคม]] เป็นเรื่องที่ 4 [[ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] และ [[ลลิตา ปัญโญภาส]] กลับมารับบท มจ.พจนปรีชาและหม่อมปริศนาเพื่อนของอานนท์ในเรื่องนี้ด้วย เจ้าสาวของอานนท์ ออกอากาศ 11 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2531 (1 ปีให้หลังจากละครปริศนา) เป็นเวอร์ชันที่โด่งดังมาก<ref>{{cite web|title=รู้จักเจ้าสาวของอานนท์ 2525 - 2558 กันหรือยัง|url=https://www.pptvthailand.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99ประเด็นร้อน/14634|website=PPTVThailand.com|accessdate=15 April 2017}} {{ลิงก์เสีย}}</ref> เรื่องนี้ศรัณยูได้รับหน้าที่ในการร้องเพลง "รักนิรันดร์" ประกอบละคร
 
=== พ.ศ. 2532–2535 ===
 
ปี 2532 ศรัณยูรับบทชายหนุ่มจองหองในละครของ [[วีรประวัติ วงศ์พัวพันธ์]] ทางช่อง 3 เรื่อง [[ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง]] คู่กับ [[นาถยา แดงบุหงา]] ออกอากาศ 8 มีนาคม – 20 เมษายน 2532 อีกครั้งสำหรับการรับบทพระเอกบทประพันธ์ของ [[ก.สุรางคนางค์]] หลังจาก บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ ซึ่งก็ประสบความสำเร็จด้วยดี ในปีเดียวกัน ศรัณยู ได้รับบทคู่ [[ลลิตา ปัญโญภาส]] เป็นครั้งแรกในภาพยนตร์รักโรแมนติกเรื่อง [[หัวใจ 4 สี]] ร่วมด้วย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง และ ธัญญา โสภณ ศรัณยูรับบทพ่อม่ายลูกติดที่จ้างนางเอกไปเป็นพี่เลี้ยงเด็ก ถ่ายทำที่ประเทศออสเตรีย เข้าฉาย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2532 จากนั้นศรัณยูมีผลงานละครต่อเนื่องกับผู้กำกับ [[วีรประวัติ วงศ์พัวพันธ์]] ทางช่อง 3 อีกเรื่องคือ [[รัตติกาลยอดรัก]] คู่กับ [[ปาหนัน ณ พัทลุง]] ออกอากาศเดือนธันวาคม 2532 – 4 กุมภาพันธ์ 2533 ซึ่งเป็นรัตติกาลยอดรักเวอร์ชันที่โด่งดังมาก
 
[[ไฟล์:วนิดา พ.ศ. 2534.jpg|thumb|200px| ศรัณยู วงษ์กระจ่าง จากละคร [[วนิดา]] พ.ศ. 2534|link=Special:FilePath/วนิดา_พ.ศ._2534.jpg]]
ปี 2533 ศรัณยูเปิดปีด้วยภาพยนตร์เรื่อง [[เล่นกับไฟ]] รับบทคู่กับ [[ลลิตา ปัญโญภาส]] เป็นครั้งที่ 2 ออกฉายปลายเดือน เมษายน 2533 สำหรับงานละครโทรทัศน์ถือเป็นปีทองของ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง เพราะเขาได้มีผลงานละครโทรทัศน์กับทางช่อง 3 ถึง 5 เรื่องในปีเดียว ศรัณยูโด่งดังมากจนทำให้ช่อง 3 อนุมัติให้เขาและเพื่อนๆ กลุ่มซูโม่สำอาง ได้แก่ ซูโม่ตู้ กิ๊ก ซูโม่ตุ๋ย ปัญญา นิรันดร์กุล และดารารับเชิญมากมาย มาสร้างละครตลกล้อเลียนหนังจีนเรื่อง [[โหด เลว อ้วน]] ออกอากาศ 1 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม 2533 โดยรับบทคู่กับ [[เพ็ญ พิสุทธิ์]] แต่เนื่องจากเนื้อเรื่องค่อนข้างสับสนจึงถูกตัดจบในที่สุด ต่อมา ศรัณยู ได้รับบทคู่ [[ลลิตา ปัญโญภาส]] ครั้งแรกทางละครโทรทัศน์เรื่อง [[วนาลี]] ออกอากาศ 21 กันยายน - 7 ธันวาคม 2533 (เวลา 20.50-21.50 น.) ละครโด่งดังเป็นพลุแตก วนาลีประสบความสำเร็จเป็นอันมาก ส่งผลให้ ศรัณยู-ลลิตา เป็นดาราคู่ขวัญและมีคนเรียกร้องให้แสดงคู่กันอีก วนาลียังได้นำเพลงอมตะของ ม.ร.ว.ถนัดศรี และ รวงทอง "วนาสวาท" มาเป็นเพลงประกอบละคร โดยมีเวอร์ชันที่ขับร้องโดย ศรัณยู กับ [[รัญญา ศิยานนท์]]
 
อย่างไรก็ตาม ปีทองของศรัณยูยังคงดำเนินต่อไปด้วยผลงานละครกับทางช่อง 3 อย่างต่อเนื่องในปี 2533 ตั้งแต่เรื่อง [[เทพธิดาบาร์ 21]] ละครมินิซีรีส์แนวมิวสิเคิลโดย ม.ล. พันธุ์เทวนพ เทวกุล โดยศรัณยูรับบทคู่กับ นรินทร ณ บางช้าง จากนั้นรับบทในละครโทรทัศน์เรื่อง [[สมหวัง มนุษย์ทดลอง]] ที่ดัดแปลงจากนิยายวิทยาศาสตร์อเมริกันเรื่อง "Flowers for Algernon" ศรัณยูรับบทหนุ่มปัญญาอ่อน ที่ถูกลักพาตัวไปทดลองทางวิทยาศาสตร์ลับๆทำให้กลายเป็นหนุ่มสติปัญญาสุดล้ำ แต่สุดท้ายเกิดผลข้างเคียง ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์โดนจับกุมไปหมดแล้ว ทำให้สติปัญญาของสมหวังค่อยๆเลือนหาย ระหว่างนั้นสมหวังจึงได้พยายามสร้างประโยชน์ให้ชุมชนโดยสร้างโรงเรียนสำหรับเด็ก จนเมื่อผลงานสำเร็จ ชาวบ้านต่างยกย่องแต่สมหวังกลับไปเป็นคนปัญญาอ่อนเหมือนเดิมโดยสมบูรณ์จึงไม่มีโอกาสได้เห็นความสำเร็จของผลงานของตัวเอง
 
ในปี 2533 ด้วยความโด่งดังของศรัณยู ทางฝั่งช่อง 5 จึงได้นำละครเก่าเก็บที่ถ่ายทำไว้ตั้งแต่ปี 2531 ของศรัณยูคือ คนขายคน แต่ชื่อเรื่องไม่ผ่านกบว. มาลงจอโทรทัศน์ในชื่อเรื่องใหม่คือ [[เธอคือดวงดาว]] ออกอากาศ 19 สิงหาคม - 21 ตุลาคม 2533
 
ช่วงปลายปี 2533 ต่อเนื่องกับปี 2534 แม้ว่าแฟนๆละครจะเรียกร้องละครคู่ ศรัณยู-ลลิตา ซึ่งก็ได้มีการวางแผนไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ก็เป็นคิวของละครโทรทัศน์เรื่อง [[รอยมาร]] ออกอากาศ 25 ธันวาคม - 8 เมษายน 2534 เวลา 20.55 – 21.55 น. โดยศรัณยู รับบทคู่กับนางเอก [[เพ็ญ พิสุทธิ์]] ในละครยาวเป็นครั้งแรก รอยมารยิ่งออกอากาศก็ยิ่งโด่งดังด้วยการฝีมือการแสดงที่จัดจ้านของคู่พระนาง แม้จะมีเสียงค้านในตอนแรกว่าพระเอกต้องเป็นลูกครึ่ง แต่ศรัณยูทำให้คนดูเชื่อว่าเป็นตัวละคร อุปมา หรือ มาร์ค จริงๆ นอกจากนี้เพลงประกอบที่ร้องโดย ศรัณยู และ เพ็ญพิสุทธิ์ ยังโด่งดังเป็นอันมาก ทำให้รอยมารฉบับนี้กลายเป็นฉบับที่สมบูรณ์ที่สุดและโด่งดังที่สุดฉบับหนึ่งทีเดียว
 
ปี 2534 และแล้วละครที่แฟนๆต่างตั้งตารอคอยกับการกลับมาอีกครั้งของคู่ขวัญ ศรัณยู-ลลิตา ในผลงานของ [[วรายุฑ มิลินทจินดา]] ในเรื่อง [[วนิดา]] ออกอากาศ 10 กรกฎาคม - 11 ธันวาคม 2534 เวลา 21.05-22.05 น. เรื่องราวของการแต่งงานที่ไม่เต็มใจของ พันตรีประจักษ์ มหศักดิ์ หรือ ใหญ่ กับลูกสาวคหบดีอย่าง วนิดา เพื่อชดใช้แทนหนี้ที่น้องชายก่อไว้ ในเรื่องนี้ศรัณยูยังเป็นผู้ร่วมเขียนบทโทรทัศน์ในนามปากกา รัญดาศิริ ซึ่งเป็นามปากกาของ รัญ คือ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ดา คือ ดาลัด คุปตะเวทิน และ ศิริ คือ พงษ์ศิริ อินทรชัย เหมือนเช่นเคย ศรัณยู ได้ขับร้องเพลงประกอบละครวนิดาไว้ 3 เพลง คือ บุพเพสันนิวาส ยามรัก และ ยามชัง วนิดาเวอร์ชันศรัณยู-ลลิตา โด่งดังและสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมเป็นอันมาก
 
ปี 2535 ศรัณยู มีผลงานโทรทัศน์ทางช่อง 3 คู่กับ [[มาช่า วัฒนพานิช]] เป็นครั้งแรก ในละครเรื่องแรกในฐานะผู้จัดของ [[หทัยรัตน์ อมตะวณิชย์]] เรื่อง [[ไฟโชนแสง]] ออกอากาศ 14 พฤษภาคม 2535 - 26 สิงหาคม 2535 ในเรื่องนี้ศรัณยูได้ขับร้องเพลงประกอบละครชื่อ ไฟโชนแสง เวอร์ชันผู้ชายเองอีกด้วย และมีละครทางช่อง 5 คู่กับ [[แสงระวี อัศวรักษ์]] ในละครของ [[พิศาล อัครเศรณี]] เรื่อง [[เมียนอกกฎหมาย]] ประสบความสำเร็จด้วยดีทั้ง 2 เรื่อง
 
=== พ.ศ. 2536–2538 ===
ปี 2536 ศรัณยูกลับสู่ช่อง 7 หลังจากห่างหายไป 5 ปี ด้วยการประชันบทบาทกับนางเอกยอดฝีมือ [[สินจัย เปล่งพานิช]] และ [[ปรียานุช ปานประดับ]] ในละครรีเมคยอดนิยม [[น้ำเซาะทราย]] โดยรับบท ภีม ประการพันธ์ หนุ่มนักปรึกษาด้านกฎหมายที่มีปัญหาครอบครัว ในส่วนของช่อง 3 ศรัณยูมีละครเรื่อง [[อยู่กับก๋ง]] คู่กับ เพชรี พรหมช่วย ออกอากาศในปีนี้
 
ปี 2537 ช่อง 7 นำเอาบทประพันธ์ยอดนิยมของ ทมยันตี เรื่อง [[ทวิภพ]] ที่เคยสร้างเป็นภาพยนตร์มาก่อนมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เป็นครั้งแรก ออกอากาศ 28 กุมภาพันธ์ 2537 - 24 พฤษภาคม 2537 ศรัณยู รับบท คุณหลวงอัครเทพวรากร คู่กับ [[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]] ทวิภพเวอร์ชันนี้ประสบความสำเร็จโด่งดังอย่างมาก คู่พระนางได้รับความนิยมอย่างสูง ละครกวาด [[รางวัลเมขลา]] ครั้งที่ 14 ประจำปี 2537 ไปถึง 6 รางวัล ได้แก่ ละครชีวิตดีเด่น ผู้เขียนบทละครดีเด่น เพลงนำละครดีเด่น ผู้กำกับการแสดงดีเด่น ผู้แสดงนำชายดีเด่น และ ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น<ref>{{cite web|title=ย้อนรอย.... ความคลาสสิค ทวิภพ ( ทมยันตี )
[[ไฟล์:ทวิภพ 2537.jpg|thumb|200px| ศรัณยู วงษ์กระจ่าง จากละคร [[ทวิภพ]] พ.ศ. 2537|link=Special:FilePath/ทวิภพ_2537.jpg]]
|url=https://www.dek-d.com/board/view/3696414/|website=Dek-D.com}}</ref><ref name=tawipopaward>{{cite web|title=ทวิภพ เวอร์ชัน 'ละคร'|url=http://entertain.teenee.com/paparuzzi/74539.html|website=Teenee Entertain}}</ref> การถ่ายทอดบทคุณหลวงและแม่มณีของทั้งศรัณยู และ สิเรียม กลายเป็นภาพจำอันประทับใจ ในปัจจุบันแม้จะมีการนำมารีเมคหลายต่อหลายครั้ง ก็มักจะมีการนำไปเทียบกับเวอร์ชัน ศรัณยู-สิเรียมอยู่เสมอ จากนั้นในปีเดียวกัน ศรัณยู ได้มีผลงานละครกับดาราวิดีโออีกเรื่องคือ [[ปลายฝนต้นหนาว]] คู่กับ [[รชนีกร พันธุ์มณี]] ออกอากาศ 23 สิงหาคม 2537 - 19 ธันวาคม 2537
ปี 2536 ศรัณยูกลับสู่ช่อง 7 หลังจากห่างหายไป 5 ปี ด้วยการประชันบทบาทกับนางเอกยอดฝีมือ [[สินจัย เปล่งพานิช]] และ [[ปรียานุช ปานประดับ]] ในละครรีเมคยอดนิยม [[น้ำเซาะทราย]] โดยรับบท ภีม ประการพันธ์ หนุ่มนักปรึกษาด้านกฎหมายที่มีปัญหาครอบครัว ในส่วนของช่อง 3 ศรัณยูมีละครเรื่อง [[อยู่กับก๋ง]] คู่กับ เพชรี พรหมช่วย ออกอากาศในปีนี้
 
ปี 2537 ช่อง 7 นำเอาบทประพันธ์ยอดนิยมของ ทมยันตี เรื่อง [[ทวิภพ]] ที่เคยสร้างเป็นภาพยนตร์มาก่อนมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เป็นครั้งแรก ออกอากาศ 28 กุมภาพันธ์ 2537 - 24 พฤษภาคม 2537 ศรัณยู รับบท คุณหลวงอัครเทพวรากร คู่กับ [[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]] ทวิภพเวอร์ชันนี้ประสบความสำเร็จโด่งดังอย่างมาก คู่พระนางได้รับความนิยมอย่างสูง ละครกวาด [[รางวัลเมขลา]] ครั้งที่ 14 ประจำปี 2537 ไปถึง 6 รางวัล ได้แก่ ละครชีวิตดีเด่น ผู้เขียนบทละครดีเด่น เพลงนำละครดีเด่น ผู้กำกับการแสดงดีเด่น ผู้แสดงนำชายดีเด่น และ ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น<ref>{{cite web|title=ย้อนรอย.... ความคลาสสิค ทวิภพ ( ทมยันตี )
|url=https://www.dek-d.com/board/view/3696414/|website=Dek-D.com}}</ref><ref name=tawipopaward>{{cite web|title=ทวิภพ เวอร์ชัน 'ละคร'|url=http://entertain.teenee.com/paparuzzi/74539.html|website=Teenee Entertain}}</ref> การถ่ายทอดบทคุณหลวงและแม่มณีของทั้งศรัณยู และ สิเรียม กลายเป็นภาพจำอันประทับใจ ในปัจจุบันแม้จะมีการนำมารีเมคหลายต่อหลายครั้ง ก็มักจะมีการนำไปเทียบกับเวอร์ชัน ศรัณยู-สิเรียมอยู่เสมอ จากนั้นในปีเดียวกัน ศรัณยู ได้มีผลงานละครกับดาราวิดีโออีกเรื่องคือ [[ปลายฝนต้นหนาว]] คู่กับ [[รชนีกร พันธุ์มณี]] ออกอากาศ 23 สิงหาคม 2537 - 19 ธันวาคม 2537
 
ปี 2538 ศรัณยูเปิดปีด้วยผลงานละครกับค่าย [[เอ็กแซ็กท์]] ทาง ช่อง 5 ประชันฝีมือในละครเรื่อง [[เรือนแพ]] กับ [[พงศ์พัฒน์ วชิรบรรจง]] [[จอนนี่ แอนโฟเน่]] และ [[นุสบา วานิชอังกูร]] ออกอากาศ 10 กุมภาพันธ์ 2538 - 27 พฤษภาคม 2538 จากนั้นกลับมามีผลงานละครคู่กับ [[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]] อีกครั้งกับดาราวิดีโอทางช่อง 7 ในเรื่อง [[ปราสาทสีขาว]] ออกอากาศ 9 มิถุนายน 2538 - 20 สิงหาคม 2538 (งดออกอากาศ วันที่ 21 - 30 กรกฎาคม 2538)
 
ปลายปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้นำอมตะภาพยนตร์ที่ทำรายได้ถล่มทลายในอดีตเรื่อง [[มนต์รักลูกทุ่ง]] มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เป็นครั้งแรกโดยค่ายดาราวิดีโอ จับคู่ ศรัณยู กับ [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] ออกอากาศ 24 ตุลาคม 2538 - 2 มกราคม 2539 ละครเรื่องนี้ถือเป็นม้ามืดมาก เพราะฟอร์มพระเอกที่คนกังขาว่าจะแสดงบทหนุ่มท้องทุ่งนา กับ นางเอก ณัฐริกา ซึ่งยังหน้าใหม่มาก แต่หลังจากละครเรื่องนี้ออกอากาศ ทุกอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ดังหมด ทั้งนักแสดง เพลงประกอบ กลายเป็น talk of the town<ref>{{cite web|title=มนต์รักลูกทุ่งเวอร์ชันเพลงละครทีวีที่ถูกถามหามากที่สุด|url=http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=680864|website=Oknation}}</ref> เป็นละครอีกเรื่องที่ทำกี่ครั้งก็ลบภาพเดิมไม่ออก เรตติ้งตอนอวสานได้ 36% ถูกบันทึกว่าเป็นอันดับ 3 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของไทย ซึ่งเป็นรองเพียงแค่ คู่กรรม (ธงไชย-กมลชนก) และ ดาวพระศุกร์ (ศรราม-สุวนันท์)<ref>{{cite web|title=5 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของช่อง 7|url=http://movie.sanook.com/55357/|website=Sanook Movie!}}</ref> เรตติ้งดังกล่าวยากจะมีใครทำได้อีกยิ่งในยุคอินเทอร์เน็ตและทีวีดิจิตัลด้วยแล้ว ไม่มีใครคาดคิดว่า คุณหลวงเทพฯ , พันตรีประจักษ์ จะกลายมาเป็น ไอ้คล้าว ได้แนบเนียนขนาดนี้ ประกอบกับเป็นละครร้องซึ่งเป็นแนวถนัดสำหรับนักแสดงละครเวทีอย่างศรัณยูอยู่แล้ว นอกจากละครจะโด่งดัง เพลงประกอบละคร มนต์รักลูกทุ่ง ซึ่งขับร้องโดยนักแสดงนำมีวางออกเป็นอัลบั้มถึง 2 ชุด ก็โด่งดังประสบความสำเร็จยอดขายหลักล้านชุด จนต้องเดินสายเปิดคอนเสิร์ตเพลงประกอบละครกันข้ามปี รวมทั้งเป็นการปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งให้กลับมาใหม่<ref>{{cite web|title=ลูกทุ่งไทย กลายพันธุ์ ตีตลาดอินเตอร์|url=http://www.manager.co.th/mgrweekly/viewnews.aspx?NewsID=9480000087203&TabID=3&|website=ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์}}</ref> ศรัณยูเองก็ได้มีอัลบั้มเดี่ยวชุด หัวใจลูกทุ่ง สืบเนื่องความสำเร็จของละครในปีเดียวกัน
[[ไฟล์:มนต์รักลูกทุ่ง 2538.jpg|thumb|200px| ศรัณยู วงษ์กระจ่าง จากละคร [[มนต์รักลูกทุ่ง]] พ.ศ. 2538|link=Special:FilePath/มนต์รักลูกทุ่ง_2538.jpg]]
ปลายปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้นำอมตะภาพยนตร์ที่ทำรายได้ถล่มทลายในอดีตเรื่อง [[มนต์รักลูกทุ่ง]] มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เป็นครั้งแรกโดยค่ายดาราวิดีโอ จับคู่ ศรัณยู กับ [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] ออกอากาศ 24 ตุลาคม 2538 - 2 มกราคม 2539 ละครเรื่องนี้ถือเป็นม้ามืดมาก เพราะฟอร์มพระเอกที่คนกังขาว่าจะแสดงบทหนุ่มท้องทุ่งนา กับ นางเอก ณัฐริกา ซึ่งยังหน้าใหม่มาก แต่หลังจากละครเรื่องนี้ออกอากาศ ทุกอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ดังหมด ทั้งนักแสดง เพลงประกอบ กลายเป็น talk of the town<ref>{{cite web|title=มนต์รักลูกทุ่งเวอร์ชันเพลงละครทีวีที่ถูกถามหามากที่สุด|url=http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=680864|website=Oknation}}</ref> เป็นละครอีกเรื่องที่ทำกี่ครั้งก็ลบภาพเดิมไม่ออก เรตติ้งตอนอวสานได้ 36% ถูกบันทึกว่าเป็นอันดับ 3 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของไทย ซึ่งเป็นรองเพียงแค่ คู่กรรม (ธงไชย-กมลชนก) และ ดาวพระศุกร์ (ศรราม-สุวนันท์)<ref>{{cite web|title=5 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของช่อง 7|url=http://movie.sanook.com/55357/|website=Sanook Movie!}}</ref> เรตติ้งดังกล่าวยากจะมีใครทำได้อีกยิ่งในยุคอินเทอร์เน็ตและทีวีดิจิตัลด้วยแล้ว ไม่มีใครคาดคิดว่า คุณหลวงเทพฯ , พันตรีประจักษ์ จะกลายมาเป็น ไอ้คล้าว ได้แนบเนียนขนาดนี้ ประกอบกับเป็นละครร้องซึ่งเป็นแนวถนัดสำหรับนักแสดงละครเวทีอย่างศรัณยูอยู่แล้ว นอกจากละครจะโด่งดัง เพลงประกอบละคร มนต์รักลูกทุ่ง ซึ่งขับร้องโดยนักแสดงนำมีวางออกเป็นอัลบั้มถึง 2 ชุด ก็โด่งดังประสบความสำเร็จยอดขายหลักล้านชุด จนต้องเดินสายเปิดคอนเสิร์ตเพลงประกอบละครกันข้ามปี รวมทั้งเป็นการปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งให้กลับมาใหม่<ref>{{cite web|title=ลูกทุ่งไทย กลายพันธุ์ ตีตลาดอินเตอร์|url=http://www.manager.co.th/mgrweekly/viewnews.aspx?NewsID=9480000087203&TabID=3&|website=ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์}}</ref> ศรัณยูเองก็ได้มีอัลบั้มเดี่ยวชุด หัวใจลูกทุ่ง สืบเนื่องความสำเร็จของละครในปีเดียวกัน
 
ในปีเดียวกันนี้ ศรัณยู รับบทนำในภาพยนตร์ผลงานกำกับของ [[หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล]] ที่กวาด [[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2537 ไปถึง 6 รางวัล ในเรื่อง [[มหัศจรรย์แห่งรัก]] ร่วมกับ [[สินจัย หงษ์ไทย]] [[สันติสุข พรหมศิริ]] [[วิลลี่ แมคอินทอช]] [[นุสบา วานิชอังกูร]] และ [[อังคณา ทิมดี]] (ศรัณยูเข้าชิงรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมในครั้งนี้ด้วย)
 
=== พ.ศ. 2539–2544 ===
 
[[ไฟล์:ด้วยแรงอธิษฐาน 2539 cover.jpg|thumb|200px| ศรัณยู วงษ์กระจ่าง จากละคร [[ด้วยแรงอธิษฐาน]] พ.ศ. 2539|link=Special:FilePath/ด้วยแรงอธิษฐาน_2539_cover.jpg]]
ปี 2539 ศรัณยู รับบทคู่กับนางเอกดัง [[สุวนันท์ คงยิ่ง]] ในละคร [[ด้วยแรงอธิษฐาน]] ค่ายดาราวิดีโอ ออกอากาศ 26 กรกฎาคม 2539 - 29 กันยายน 2539 ซึ่งเป็นเรื่องราวของนางเอกที่ตายไปพร้อมความเข้าใจผิด และเกิดใหม่กลับมาแก้แค้นพระเอก ด้วยแรงอธิษฐานประสบความสำเร็จด้วยดี ในปีเดียวกัน ศรัณยู มีผลงานนำแสดงภาพยนตร์เรื่อง [[เรือนมยุรา]] โดยรับบท คุณพระนาย คู่กับ [[นุสบา วานิชอังกูร]]
 
ปี 2540 ศรัณยู กลับสู่ช่อง 3 ในรอบ 4 ปี โดยรับบทคู่ [[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]] ในเรื่อง [[ทานตะวัน]] จากนั้นรับบทในละคร [[ตะวันยอแสง]] คู่กับ [[ซอนย่า คูลลิ่ง]] ในปีเดียวกันศรัณยูมีละครทางช่อง 5 อีก 2 เรื่อง คือ [[เขมรินทร์ อินทิรา]] คู่กับ [[แคทรียา อิงลิช]] ซึ่งเป็นอีกครั้งกับการเป็นพระเอกบทประพันธ์ของ [[ก.สุรางคนางค์]] อีกเรื่องทางช่อง 5 ได้แก่ [[แก้วจอมแก่น]] เป็นการกลับมาพบกันอีกครั้งกับนางเอกยอดฝีมือ [[สินใจ หงษ์ไทย]]
 
ปี 2541 ศรัณยูมีผลงานทางช่อง 3 โดยรับบทนำในละคร [[ดวงยิหวา]] คู่กับ [[ศิริลักษณ์ ผ่องโชค]] และได้เริ่มชิมลางบทบาทใหม่ในการกำกับและร่วมแสดงละครโทรทัศน์แนววัยรุ่นทางช่อง 3 เรื่อง [[เทพนิยายนายเสนาะ]] ในฝั่งของช่อง 7 ศรัณยูรับบทพ่อม่ายในละครจากบทประพันธ์ของ [[กนกเรขา]] เรื่อง [[พ่อม่ายทีเด็ด]] คู่กับ สินิทธา บุญยศักดิ์ จากนั้นกลับมาร่วมงานกับดาราวิดีโอในละครเรื่อง [[พลังรัก]] ดัดแปลงจากบทประพันธ์เรื่อง โรงแรมวิปริต คู่กับ [[ชไมพร จตุรภุช]] ทางช่อง 7 เช่นเดียวกัน ออกอากาศ 24 มิถุนายน 2541 - 13 สิงหาคม 2541 ปี 2542 ศรัณยูมีผลงานละคร 2 เรื่องทางช่อง 7 โดยกลับมารับบทคู่กับ [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] อีกครั้งในละครค่ายดาราวิดีโอเรื่อง [[โดมทอง]] ออกอากาศ 20 กุมภาพันธ์ 2542 - 3 เมษายน 2542 ตามด้วย [[คุณปู่ซู่ซ่า]] คู่กับ [[ธัญญาเรศ รามณรงค์]] และละครเทิดพระเกียรติ พ่อ ตอน ชีวิตที่พอเพียง ทางช่อง 5 จากนั้นในปี 2543 รับบทในละคร [[ดั่งสายน้ำไหล]] คู่กับ [[มัณฑนา โห่ศิริ]] ออกอากาศ 5 มกราคม 2543 - 17 กุมภาพันธ์ 2543
 
ปี 2543 รับบทพระเทียรราชา (สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) ในภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท คู่กับหม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี ซึ่งรับบทพระสุริโยทัย
 
[[ไฟล์:นายฮ้อยทมิฬ พ.ศ. 2544.jpg|thumb|200px| ศรัณยู วงษ์กระจ่าง จากละคร [[นายฮ้อยทมิฬ]] พ.ศ. 2544|link=Special:FilePath/นายฮ้อยทมิฬ_พ.ศ._2544.jpg]]
เส้น 124 ⟶ 119:
 
=== พ.ศ. 2545 - 2549 ===
ปี 2545 ศรัณยูเริ่มบทบาทใหม่อย่างเต็มตัวกับการกำกับการแสดงละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 เรื่อง [[น้ำพุ]] นำแสดงโดย [[สินจัย เปล่งพานิช]] [[จิรายุส วรรธนะสิน]] และ [[ตะวัน จารุจินดา]] ปี 2546 ศรัณยูรับบทนำในละครแนวคอมเมดี้เรื่อง [[มหาเฮง]] ค่ายดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น ทางช่อง 7 ร่วมกับ [[ทราย เจริญปุระ]] ออกอากาศ 22 สิงหาคม 2546 - 13 กันยายน 2546 และได้มีผลงานการเขียนและกำกับละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 เรื่องถัดมาในเรื่อง [[สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย]] นำแสดงโดย ตะวัน จารุจินดา วรนุช ภิรมย์ภักดี มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์ และ ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์
 
ปี 2547 ศรัณยูเป็นผู้กำกับและเขียนบทโทรทัศน์ในละคร เรื่อง [[หลังคาแดง]] ทางช่อง 7 นำแสดงโดย [[ดนุพร ปุณณกันต์]] และ [[จีรนันท์ มะโนแจ่ม]] โดยศรัณยูเองได้รับบท นายแพทย์สินเงิน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ด้วย เนื่องจากไม่ค่อยประสบความสำเร็จในด้านยอดผู้ชม ทำให้ช่องตัดให้จบเร็วขึ้น
ปี 2545 ศรัณยูเริ่มบทบาทใหม่อย่างเต็มตัวกับการกำกับการแสดงละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 เรื่อง [[น้ำพุ]] นำแสดงโดย [[สินจัย เปล่งพานิช]] [[จิรายุส วรรธนะสิน]] และ [[ตะวัน จารุจินดา]] ปี 2546 ศรัณยูรับบทนำในละครแนวคอมเมดี้เรื่อง [[มหาเฮง]] ค่ายดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น ทางช่อง 7 ร่วมกับ [[ทราย เจริญปุระ]] ออกอากาศ 22 สิงหาคม 2546 - 13 กันยายน 2546 และได้มีผลงานการเขียนและกำกับละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 เรื่องถัดมาในเรื่อง [[สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย]] นำแสดงโดย ตะวัน จารุจินดา วรนุช ภิรมย์ภักดี มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์ และ ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์
 
ปี 2548 ศรัณยู รับบท ส.อาสนจินดา ในละครช่อง 7 เรื่อง [[มิตร ชัยบัญชา มายาชีวิต]] และมีผลงานกำกับละครโทรทัศน์เรื่อง [[ร.ศ. 112 คนไทยรักแผ่นดิน]] เป็นละครพิเศษทางช่อง 5 นำแสดงโดย [[สินจัย เปล่งพานิช]] [[ชไมพร จตุรภุช]] [[อนุชิต สพันธุ์พงษ์]] และ [[พิมลรัตน์ พิศลยบุตร]] ละครเรื่องนี้ได้รับ [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2549 ประเภท รางวัลพิเศษ ละครส่งเสริมความสมานฉันท์<ref>{{cite web|title=" โทรทัศน์ทองคำ" กร่อย, "ใหม่ สุคนธวา" เต้า!ส่งให้เกิด|url=http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9490000022464|website=Superบันเทิง}}</ref>
ปี 2547 ศรัณยูเป็นผู้กำกับและเขียนบทโทรทัศน์ในละคร เรื่อง [[หลังคาแดง]] ทางช่อง 7 นำแสดงโดย [[ดนุพร ปุณณกันต์]] และ [[จีรนันท์ มะโนแจ่ม]] โดยศรัณยูเองได้รับบท นายแพทย์สินเงิน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ด้วย เนื่องจากไม่ค่อยประสบความสำเร็จในด้านยอดผู้ชม ทำให้ช่องตัดให้จบเร็วขึ้น
 
ปี 2548 ศรัณยู รับบท ส.อาสนจินดา ในละครช่อง 7 เรื่อง [[มิตร ชัยบัญชา มายาชีวิต]] และมีผลงานกำกับละครโทรทัศน์เรื่อง [[ร.ศ. 112 คนไทยรักแผ่นดิน]] เป็นละครพิเศษทางช่อง 5 นำแสดงโดย [[สินจัย เปล่งพานิช]] [[ชไมพร จตุรภุช]] [[อนุชิต สพันธุ์พงษ์]] และ [[พิมลรัตน์ พิศลยบุตร]] ละครเรื่องนี้ได้รับ [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2549 ประเภท รางวัลพิเศษ ละครส่งเสริมความสมานฉันท์<ref>{{cite web|title=" โทรทัศน์ทองคำ" กร่อย, "ใหม่ สุคนธวา" เต้า!ส่งให้เกิด|url=http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9490000022464|website=Superบันเทิง}}</ref>
 
ปี 2549 ศรัณยูกลับรับบทเด่นในละครโทรทัศน์อีกครั้งในละครค่าย [[เอ็กแซ็กท์]] เรื่อง [[ลอดลายมังกร]] คู่กับ [[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]] ทางช่อง 5 ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2549 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
 
=== พ.ศ. 2550 - 2554 ===
การเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองในปี 2549 ของ ศรัณยู ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากส่งผลกระทบต่องานละครโทรทัศน์และงานพิธีกรรายการโทรทัศน์<ref>{{cite web|title=“ตั้ว-ศรัณยู” ตอบโจทย์ ลั่นไม่เสียใจร่วมสู้กับ พธม. แม้กระทบอาชีพ|url=http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9550000109658|website=ASTVผู้จัดการออนไลน์}}</ref> อย่างไรก็ตามเขายังคงมีผลงานภาพยนตร์ ละครเวที และผลงานในบทบาทผู้กำกับและผู้จัดอย่างต่อเนื่อง
 
ปลายปี 2549 ศรัณยู นำแสดงและกำกับภาพยนตร์แนว psychological thriller เรื่อง [[อำมหิตพิศวาส]] ร่วมกับ บงกช คงมาลัย ตะวัน จารุจินดา และปรางทอง ชั่งธรรม<ref>{{cite web|title=5 อำมหิตพิศวาส: อำมหิตสมชื่อ ด้วยการแสดงและการกำกับที่น่าทึ่ง|url=http://movie.sanook.com/18827/|website=Sanook Movie!}}</ref> จากนั้นเขาได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ชื่อเสียงระดับนานาชาติเรื่อง [[13 เกมสยอง]]
การเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองในปี 2549 ของ ศรัณยู ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากส่งผลกระทบต่องานละครโทรทัศน์และงานพิธีกรรายการโทรทัศน์<ref>{{cite web|title=“ตั้ว-ศรัณยู” ตอบโจทย์ ลั่นไม่เสียใจร่วมสู้กับ พธม. แม้กระทบอาชีพ|url=http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9550000109658|website=ASTVผู้จัดการออนไลน์}}</ref> อย่างไรก็ตามเขายังคงมีผลงานภาพยนตร์ ละครเวที และผลงานในบทบาทผู้กำกับและผู้จัดอย่างต่อเนื่อง
 
ปลายปี 2549 ศรัณยู นำแสดงและกำกับภาพยนตร์แนว psychological thriller เรื่อง [[อำมหิตพิศวาส]] ร่วมกับ บงกช คงมาลัย ตะวัน จารุจินดา และปรางทอง ชั่งธรรม<ref>{{cite web|title=5 อำมหิตพิศวาส: อำมหิตสมชื่อ ด้วยการแสดงและการกำกับที่น่าทึ่ง|url=http://movie.sanook.com/18827/|website=Sanook Movie!}}</ref> จากนั้นเขาได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ชื่อเสียงระดับนานาชาติเรื่อง [[13 เกมสยอง]]
 
ปี 2550 ศรัณยูรับบท สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ในภาพยนตร์เรื่อง [[ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] ภาค ๑ องค์ประกันหงสา ในปีเดียวกัน ศรัณยู กลับมาร่วมงานกับ [[เอ็กแซ็กท์]] อีกครั้ง โดยรับบท กษัตริย์อาเหม็ด ในละครเวที [[ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล]] ซึ่งเป็นละครเวทีเปิดโรงละครใหม่ [[เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์]] ด้วยความนิยมจึงมีการเปิดการแสดงถึง 53 รอบ
 
ปี 2551 ศรัณยูรับหน้าที่กำกับละครพีเรียดค่าย [[เอ็กแซ็กท์]] เรื่อง [[ตราบสิ้นดินฟ้า]] นำแสดงโดย [[ยุรนันท์ ภมรมนตรี]] และ [[คัทลียา แมคอินทอช]] สำหรับงานด้านการแสดงเขามีผลงานภาพยนตร์เรื่อง [[สลัดตาเดียวกับเด็ก 200 ตา]] โดยรับบทกัปตันฤทธิ์ ออกฉายในปีนี้ จากนั้นยังรับบท พระยาราชเสนา ในภาพยนตร์ [[องค์บาก 2]] ปลายปี ศรัณยูนำแสดงละครเวที [[ทึนทึก 2 40 ปีผ่านคานเพิ่งขยับ]] ระหว่าง 20-23 พฤศจิกายน 2551 ณ เอ็มเธียเตอร์
 
ปี 2552 มีผลงานภาพยนตร์เรื่อง [[สวยซามูไร]] ในบท วายิบ
เส้น 150 ⟶ 143:
 
=== พ.ศ. 2555 - 2563 ===
ปี 2555 ศรัณยู ทำงานเบื้องหลังเต็มตัวโดยก่อตั้งบริษัทผลิตละครและละครเวทีในชื่อ บริษัท [[สามัญการละคร]] จำกัด เปิดตัวด้วยละครเวทีเรื่อง [[หลังคาแดง]]<ref>{{cite news|title=Beneath the red roof : Director Sarunyoo Wongkrachang explores the blurry line between sanity and insanity in his musical theatre production Langkha Daeng|url=http://www.bangkokpost.com/print/301188/|accessdate=8 April 2017|publisher=Bangkok Post}}</ref> เป็นการนำละครที่เขาเคยกำกับและเขียนบทไว้มาทำให้สมบูรณ์ในฉบับละครเวที นำแสดงโดย [[โทนี่ รากแก่น]] และ [[รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์]]
 
ปี 2555 ศรัณยู ทำงานเบื้องหลังเต็มตัวโดยก่อตั้งบริษัทผลิตละครและละครเวทีในชื่อ บริษัท [[สามัญการละคร]] จำกัด เปิดตัวด้วยละครเวทีเรื่อง [[หลังคาแดง]]<ref>{{cite news|title=Beneath the red roof : Director Sarunyoo Wongkrachang explores the blurry line between sanity and insanity in his musical theatre production Langkha Daeng|url=http://www.bangkokpost.com/print/301188/|accessdate=8 April 2017|publisher=Bangkok Post}}</ref> เป็นการนำละครที่เขาเคยกำกับและเขียนบทไว้มาทำให้สมบูรณ์ในฉบับละครเวที นำแสดงโดย [[โทนี่ รากแก่น]] และ [[รมิตา มหาพฤกษ์พงศ์]]
 
ปีถัดมา 2556 ศรัณยูกลับมาทำงานร่วมกับช่อง 7 อีกครั้ง โดยหยิบยกผลงานบทประพันธ์ของเขาเองเรื่อง [[สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย]] มารีเมคเวอร์ชันใหม่ นำแสดงโดย [[ศรัณย์ ศิริลักษณ์]] และ [[ธัญญะสุภางค์ จิรปรีชานนท์]]
 
ปี 2557 ศรัณยูมีผลงานกำกับและเขียนบทโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์ช่อง 7 เรื่อง [[หัวใจเถื่อน]]<ref>{{cite web|title=เปิดกล้องบวงสรวง หัวใจเถื่อน คู่พระนาง อ๋อม ขวัญ|url=http://dara.trueid.net/index.php/detail/142606|website=trueid}}</ref> นำแสดงโดย [[อรรคพันธ์ นะมาตร์]] และ [[อุษามณี ไวทยานนท์]] ประสบความสำเร็จด้วยดี ต่อเนื่องด้วยผลงานทางช่อง 7 ในปี 2558 เรื่อง [[รอยรักแรงแค้น]] โดยศรัณยูรับหน้าที่กำกับและเขียนบทโทรทัศน์ ละครนำแสดงโดย [[ภัทรเดช สงวนความดี]] และ [[ฝนทิพย์ วัชรตระกูล]] ประสบความสำเร็จด้วยดีเช่นเดียวกัน กลางปี 2558 ศรัณยู มีผลงานนำแสดงละครเวที [[แผ่นดินของเรา เดอะมิวสิคัล]] ระหว่าง 12 - 28 มิถุนายน 2558 ณ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์
 
ปี 2559 ศรัณยูกำกับและเขียนบทโทรทัศน์เรื่อง [[บัลลังก์หงส์]] นำแสดงโดย [[ภัทรเดช สงวนความดี]] และ [[พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์]] อย่างไรก็ตาม บัลลังก์หงส์มีปัญหาโดนช่อง 7 ตัดให้จบเร็วเนื่องจากไม่ประสบความสำเร็จด้านยอดผู้ชม <ref>{{cite web|title=5 ค่ายละคร "บัลลังก์หงส์" ออกโรงแจง หลังดราม่า..ตัดตอนจบ!|url=http://news.sanook.com/2143382|website=Sanook News!}}</ref> ปลายปีเดียวกัน ศรัณยู มีผลงานกำกับละครเทิดพระเกียรติทางช่อง 7 เรื่อง [[จงรักภักดี]]<ref>{{cite web|title="ศรัณยู-ซี-เกรซ-ฐิสา-กอล์ฟ-จิณณ์-เจด้า" ร่วมใจถ่ายทอด "จงรักภักดี" |url=http://imgads.manager.co.th/Drama/ViewNews.aspx?NewsID=9590000119874|website=MGR Online}}</ref> นำแสดงโดย [[ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์]] และ [[กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า]]
 
ปี 2560 ศรัณยูกลับมาสู่งานแสดงอีกครั้งโดยร่วมแสดงกับเหล่าทัพนักแสดงทั่วฟ้าเมืองไทยในละครเทิดพระเกียรติคุณในองค์พระมหาบูรพกษัตราธิราชเจ้า เรื่อง [[ศรีอโยธยา]]<ref>{{cite news|title=บวงสรวงบูรพกษัตราธิราชเจ้า “หม่อมน้อย”สร้าง“ศรีอโยธยา”|url=http://www.banmuang.co.th/news/entertain/78306|work=บ้านเมือง|language=th}}</ref> ผลงานสร้างของ [[ม.ล.พันธุ์เทวนพ เทวกุล]] รับบท [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ในสมัยอยุธยา วางแผนออกอากาศ 5 ธันวาคม 2560 ทางช่อง True4U
 
ในส่วนของงานผู้จัดละคร ศรัณยูเริ่มงานใหม่กับช่อง 8 ประเดิมด้วยละครเรื่องแรก [[ดงผู้ดี]] <ref name=ดงผู้ดี>{{cite news|title=คลื่นรบกวน 22/04/60|url=http://www.thairath.co.th/content/919057|accessdate=22 April 2017|work=Thairath.co.th|language=th}}</ref><ref>{{cite news|title=คมชัดลึก เม้าท์นอกจอ จันทร์ 24 เม.ย.60|url=http://www.komchadluek.net/news/ent/273047|accessdate=24 April 2017|work=www.komchadluek.net|language=th}}</ref><ref name=ดงผู้ดี2>{{cite news|title="เฮียฮ้อ"ปลื้ม"ช่อง 8"เรตติ้งพุ่ง คว้า"ตั้ว"เสริมทัพละคร|url=http://daily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObGJuUXdOekEyTURZMk1BPT0=&sectionid=TURNeE1nPT0=&day=TWpBeE55MHdOaTB3Tmc9PQ==|accessdate=10 July 2017|work=Khaosod|language=th}}</ref><ref name=ดงผู้ดี3>{{cite news|title=คุยกับ ‘ตั้ว ศรัณยู’ เรื่องงาน ในวันที่ ‘เราไม่ใช่จุดขาย’|url=https://www.matichon.co.th/news/593655|accessdate=10 July 2017|work=Matichon Online|language=th}}</ref> ในปีเดียวกันศรัณยูและภรรยา [[หัทยา วงษ์กระจ่าง]] ยังเป็นแขกรับเชิญเซอร์ไพรส์ในบทพ่อแม่สุดเท่ที่ยอมรับและเข้าใจในตัวตนของลูกชายในละคร [[ไดอารีตุ๊ดซีส์ เดอะซีรีส์]] ซีซั่น 2 ตอนอวสาน (ตอนที่ 12) ที่ออกอากาศเมื่อวันที่ 29 เมษายนทางช่อง GMM25 อีกด้วย ครึ่งปีหลังศรัณยู ร่วมงานแถลงข่าวรับบทในละคร [[Club Friday the Series 9 รักครั้งหนึ่ง ที่ไม่ถึงตาย]] ตอน "รักที่ไม่มีจริง" ร่วมกับ [[รฐา โพธิ์งาม]] และ [[ธนา สุทธิกมล]] ออกอากาศทางช่อง GMM25<ref name="club">{{cite news|title=GMM25 เปิดตัว Club Friday The Series 9 รักครั้งหนึ่ง..ที่ไม่ถึงตาย และ Club Friday Celebs Stories “พี่ฉอด-พี่เอส” ยกทัพดาราดังมารวมกันมากที่สุด|url=http://www.efm.fm/news/id/7521|accessdate=23 June 2017|work=efm.fm|language=th}}</ref>
 
เขาเสียชีวิตจากโรค[[มะเร็งตับ]]ระยะสุดท้ายที่[[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563<ref>{{cite web|url=https://www.dailynews.co.th/entertainment/779251|title=ช็อก! วงการบันเทิง "ตั้ว ศรัณยู" เสียชีวิตด้วยมะเร็งตับในวัย 59 ปี|website=เดลินิวส์|date=10 มิถุนายน 2563|accessdate=10 มิถุนายน 2563}}</ref>
เส้น 170 ⟶ 162:
ช่อง 3
 
* 2526 [[เลือดขัตติยา]] (อโณทัย) คู่กับ [[วาสนา สิทธิเวช]] (ไม่ได้ออกอากาศ)
* 2527 [[เก้าอี้ขาวในห้องแดง]] (บูรพา / เปี๊ยก)
* 2529 [[กามนิต-วาสิฏฐี]] (กามนิต) คู่กับ [[จริยา สรณะคม]]
* 2530 [[อวสานของเซลส์แมน]] (ชนะพล / พล ) คู่กับ [[จริยา สรณะคม]]