ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุงก้นปล่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า Anopheles ไปยัง ยุงก้นปล่อง
Teetaweepo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''''Anopheles''''' หรือ'''ยุงก้นปล่อง''' เป็นสกุลของ[[ยุง]]ที่มีบทบาทเป็นพาหะของโรค[[มาลาเรีย]], [[โรคเท้าช้าง]] และอีกหลายโรค
'''''Anopheles''''' หรือ'''ยุงก้นปล่อง''' เป็นสกุลของ[[ยุง]]ที่ J. W. Meigen อธิบายและตั้งชื่อเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1818<ref>Meigen, J. W. (1818). Systematische Beschreibung der Bekannten Europäischen Zweiflügeligen Insekten Vol. 1. Forstmann, Aachen, 332 pp.</ref> สัตว์สกุลนี้ได้รับการยอมรับแล้วประมาณ 460 สปีชีส์ แม้มียุงกว่า 100 สปีชีส์ที่สามารถส่งผ่านโรค[[มาลาเรีย]]ในมนุษย์ได้ แต่มี 30–40 ชนิดที่ส่งผ่านปรสิตสกุล ''[[Plasmodium]]'' บ่อย ซึ่งก่อโรคมาลาเรียในมนุษย์ในพื้นที่ระบาด ''Anopheles gambiae'' เป็นยุงชนิดหนึ่งที่รู้จักกันดีที่สุด เพราะบทบาทเด่นในการส่งผ่านปรสิตมาลาเรียสปีชีส์ที่อันตรายที่สุดมายังมนุษย์ คือ ''[[Plasmodium falciparum]]''
 
== ลักษณะ ==
ยุงก้นปล่องบางสปีชีส์สามารถเป็นพาหะของหัวใจสุนัข ''Dirofilaria immitis'' สปีชีส์ที่ก่อโรค[[filariasis|เท้าช้าง]] ''Wuchereria bancrofti'' และ ''Brugia malayi'' และไวรัส เช่น ชนิดที่ก่อไข้ O'nyong'nyong ความสัมพันธ์ระหว่างอุบัติการณ์เนื้องอกสมองกับมาลาเรียแนะว่ายุงก้นปล่องอาจส่งผ่านไวรัสหรือตัวการอื่นซึ่งสามารถก่อเนื้องอกสมองได้<ref name=r8>{{cite journal |author=Steven Lehrer |year=2010 |title=''Anopheles'' mosquito transmission of brain tumor |journal=[[Medical Hypotheses]] |volume=74 |issue=1 |pages=167–168 |pmid=19656635 |doi=10.1016/j.mehy.2009.07.005 |url=http://www.stevenlehrer.com/images/medhypinpress09.pdf |format=PDF}}</ref>
ลักษณะเด่นประจำสกุลที่ใช้จำแนกได้ง่ายคือสังเกตจาก ท่าขณะดูดเลือดที่กระดกส่วนท้อง เป็นมุมสูงกว่ายุงสกุลอื่น
 
== การค้นพบ การจำแนก และบทบาทในการระบาดของโรค ==
โยฮันน์ วิลเฮล์ม เมเกน นักกีฏวิทยาชาวเยอรมัน พรรณนาและตั้งชื่อสกุลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1818 โดยมาจากภาษากรีกโบราณ <ref>Meigen, J. W. (1818). Systematische Beschreibung der Bekannten Europäischen Zweiflügeligen Insekten Vol. 1. Forstmann, Aachen, 332 pp.</ref>
 
ทั่วโลกมีสกุลยุงก้นปล่องมากกว่า 460 สปีชีส์ โดยมากกว่า 100 สปีชีส์ที่เป็นพาหะแพร่ระบาด ของโปรโตซัวปรสิตสกุล ''[[พลาสโมเดียม]]'' สาเหตุของโรค[[มาลาเรีย]]ในมนุษย์ แต่มีเพียง 30–40 ชนิดที่เป็นพาหะหลักที่พบได้บ่อยที่สุด <ref>Walton et al. 2007</ref> <br/>
ในประเทศไทย มีรายงานพบยุงก้นปล่อง 72 สปีชีส์ เป็นพาหะหลัก 3 สปีชีส์ ได้แก่ ''Anopheles minimus'', ''Anopheles dirus'' และ ''Anopheles maculatus'' <ref>Anopheles, Asian, and Rattanarithikul 2016</ref> <br/>
ขณะที่ ''Anopheles gambiae'' เป็นสปีชีส์ที่รู้จักกันดีที่สุดของโลก ในฐานะพาหะของ พลาสโมเดียมสปีชีส์ที่อันตรายที่สุดคือ ''[[Plasmodium falciparum]]'' ที่แพร่ระบาดในทวีปแอฟริกา
 
ยุงก้นปล่องบางสปีชีส์ เป็นพาหะแพร่ระบาดปรสิต ''Wuchereria bancrofti'' และ ''Brugia malayi'' สาเหตุของ[[โรคเท้าช้าง]] (''filariasis'') <br/>
และพาหะ ''โรตหัวใจในสุนัข'' (''Dirofilaria immitis'') <br/>
ยุงก้นปล่องบางสปีชีส์สามารถเป็นและพาหะของหัวใจสุนัข ''Dirofilaria immitis'' สปีชีส์ที่ไวรัสก่อโรค[[filariasis|เท้าช้าง]] ''Wuchereria bancrofti'' และ ''Brugia malayi'' และไวรัส เช่น ชนิดที่ก่อไข้ O'nyong'nyong'' ความซึ่งมีนัยสัมพันธ์ระหว่างอุบัติการณ์เนื้องอกในสมองกับมาลาเรียแนะว่ายุงก้นปล่องอาจส่งผ่านไวรัสหรือตัวการอื่นซึ่งสามารถก่อเนื้องอกสมองได้ <ref name=r8>{{cite journal |author=Steven Lehrer |year=2010 |title=''Anopheles'' mosquito transmission of brain tumor |journal=[[Medical Hypotheses]] |volume=74 |issue=1 |pages=167–168 |pmid=19656635 |doi=10.1016/j.mehy.2009.07.005 |url=http://www.stevenlehrer.com/images/medhypinpress09.pdf |format=PDF}}</ref>
 
แม้ยุงในสกุลอื่น (''Aedes'', ''Culex'', ''Culiseta'', ''Haemagogus'' และ ''Ochlerotatus'') สามารถเป็นพาหะของโรคได้เช่นร่วมกัน แต่ไม่มีสกุลใดเป็นพาหะของมาลาเรีย
 
== วัวัฒนาการ ==
 
 
== ขั้นตอนวัฏจักรชีวิต ==
 
ยุงในสกุลอื่น (''Aedes'', ''Culex'', ''Culiseta'', ''Haemagogus'' และ ''Ochlerotatus'') สามารถเป็นพาหะของโรคได้เช่นกัน แต่ไม่เป็นพาหะของมาลาเรีย
 
== อ้างอิง ==