ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ตามราชบัณฑิต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Interventions infobox |
Name = การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ<br><small>(Cardiopulmonary resuscitation)</small> |
Image = CPR training-04.jpg |
Caption = การฝึกการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพกับหุ่นจำลอง |
ICD10 = |
ICD9unlinked = {{ICD9proc|99.60}} |
MeshID = D016887 |
OPS301 = {{OPS301|8-771}} |
OtherCodes = |
}}
'''การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ'''<ref name=royin>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]. เรียกข้อมูลวันที่ [[27 กุมภาพันธ์|27 กพ.]] [[พ.ศ. 2552|2552]].</ref> ({{Lang-en|Cardiopulmonary resuscitation}}) หรือ '''ซีพีอาร์''' เป็นหัตถการฉุกเฉินทางการแพทย์สำหรับผู้ที่[[หัวใจหยุดเต้น]] หรือ[[หยุดหายใจ]]ในบางกรณี<ref name=medline> {{cite web|url=http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/000010.htm|title=US National Library of Medicine Encyclopedia - Definition of CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref> อาจทำโดย[[บุคลากรทางการแพทย์]] [[ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน]] หรือโดยคนทั่วไปที่ได้รับการฝึกก็ได้<ref> {{cite web|url=http://www.redcross.org/services/hss/courses/|title=US Red Cross list of courses for all skill levels|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref>
 
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นประกอบด้วยการจำลอง[[การไหลเวียนโลหิต]] (เช่น การนวดหัวใจ) และการจำลอง[[การหายใจ]] (เช่น การผายปอด) <ref name=medline/><ref> {{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/compCPRs.htm|title=Resuscitation Council UK Comment on Compression Only CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref> อย่างไรก็ดี ในเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2551]] สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) และสภาการกู้ชีพยุโรป (European Resuscitation Council) เสนอให้เห็นถึงผลดีของการนวดหัวใจเพียงอย่างเดียวโดยไม่ต้องผายปอดสำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นผู้ใหญ่<ref name=Circstatement> {{cite web|url=http://circ.ahajournals.org/cgi/content/abstract/CIRCULATIONAHA.107.189380v1|title=Hands-Only (Compression-Only) Cardiopulmonary Resuscitation: A Call to Action for Bystander Response to Adults Who Experience Out-of-Hospital Sudden Cardiac Arrest.|accessdate=2008-04-02}} {{en icon}}</ref><ref> {{cite web|url=http://www.erc.edu/index.php/docLibrary/en/viewDoc/775/3/|title=Advisory statement of the European Resuscitation Council: Advisory statement of the European Resuscitation Council on Basic Life Support.|accessdate=2008-06-13}} {{en icon}}</ref> ส่วนการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นยังคงทำอยู่เป็นส่วนหนึ่งของการกู้ชีวิตระดับสูงจนกว่าหัวใจของผู้ป่วยจะกลับมาเต้นตามปกติ หรือเสียชีวิต
 
หลักการของการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพไม่ใช่การทำให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่ แต่เป็นเพื่อรักษาให้มีการไหลเวียนของเลือดนำ[[ออกซิเจน]]ไปเลี้ยง[[สมอง]]และ[[หัวใจ]] เป็นการชะลอการตายของเนื้อเยื่อและเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะฟื้นกลับขึ้นมาโดยไม่มีความเสียหายถาวรเกิดขึ้นกับสมอง ปกติแล้วการกระตุ้นให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่จะต้องใช้การกู้ชีพขั้นสูง เช่น [[การช็อตไฟฟ้าหัวใจ]]
 
== ข้อบ่งชี้ ==
ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นใช้สำหรับบุคคลที่ไม่ตอบสนอง (unresponsive) และไม่หายใจหรือหายใจเฮือก มีโอกาสมากที่จะอยู่ในภาวะ[[หัวใจหยุด]]<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} ถ้ายังมีชีพจรอยู่แต่ไม่หายใจ (ภาวะหายใจหยุด) ควรเริ่มการช่วยหายใจมากกว่า อย่างไรก็ดีผู้ช่วยชีวิตหลายคนอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการจับชีพจร คำแนะนำใหม่จึงกำหนดให้ผู้ช่วยชีวิตที่เป็นคนทั่วไปไม่ต้องพยายามจับชีพจร และให้เริ่มการช่วยชีวิตไปเลย ส่วนผู้ช่วยชีวิตที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์สามารถพิจารณาจับชีพจรก่อนเริ่มการช่วยชีวิตได้ตามเห็นสมควร<ref>European Resuscitation Council (2005), "Guidelines for resuscitation", Part 2, "Adult basic life support": "The following is a summary of the evidence-based recommendations for the performance of basic life support: Rescuers begin CPR if the victim is unconscious, not moving, and not breathing (ignoring occasional gasps).[...]"", available at https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/</ref>
เส้น 19 ⟶ 20:
== วิธีการ ==
พ.ศ. 2553 [[American Heart Association|สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา]]และ[[International Liaison Committee on Resuscitation|คณะกรรมการประสานงานนานาชาติว่าด้วยการกู้ชีพ]]ได้ปรับปรุงแนงทางปฏิบัติการกู้ชีพขึ้นใหม่<ref name=CircEx10>{{cite journal |author=Field JM, Hazinski MF, Sayre MR, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S640–56 |year=2010 |month=November |pmid=20956217 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970889 |url=}}</ref>{{rp|S640}}<ref>{{cite journal |author=Hazinski MF, Nolan JP, Billi JE, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations |journal=Circulation |volume=122 |issue=16 Suppl 2 |pages=S250–75 |year=2010 |month=October |pmid=20956249 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970897 |url=}}</ref> มีการให้ความสัมพันธ์กับคุณภาพของการกู้ชีพ โดยเฉพาะอัตราเร็วและความลึกของการกดหน้าอกร่วมกับการไม่ทำให้เกิดภาวะหายใจเกิน<ref name=CircEx10/>{{rp|S640}} มีการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนการช่วยชีวิตสำหรับทุกช่วงอายุยกเว้นทารก โดยเปลี่ยนจาก ABC (ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียน) เป็น CAB (การกดหน้าอก ทางเดินหายใจ การหายใจ)<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยมีข้อยกเว้นเฉพาะผู้ป่วยที่ชัดเจนว่ามีภาวะหายใจหยุด เช่น จมน้ำ เป็นต้น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}}
 
=== แบบมาตรฐาน ===
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจที่แนะนำคือ 30:2<ref name=AHAHighlights>{{cite web |url=http://www.heart.org/idc/groups/heart-public/@wcm/@ecc/documents/downloadable/ucm_317350.pdf |title=Highlights of the 2010 American Heart Association Guidelines for CPR and ECC |format=pdf |work=American Heart Association |accessdate=}}</ref>{{rp|8}} ส่วนในเด็กหากมีผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแนะนำให้ใช้อัตราส่วน 15:2<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในทารกแรกเกิดใช้อัตราส่วน 3:1 เว้นแต่รู้อยู่ก่อนว่าเป็นภาวะหัวใจหยุดที่มีสาเหตุมาจากหัวใจโดยตรง (cardiac cause) ให้ใช้อัตราส่วน 15:2 ได้<ref name=CircEx10/>{{rp|S647}} หากได้เริ่มการช่วยหายใจขั้นสูงแล้ว (เช่น [[การใส่ท่อช่วยหายใจ|ใส่ท่อช่วยหายใจทางหลอดลม]] หรือ[[laryngeal mask airway|หน้ากากปิดกล่องเสียง]]) ให้ดำเนินการช่วยหายใจและกดหน้าอกไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องนับเป็นจังหวะอัตราส่วน โดยให้ช่วยหายใจด้วยอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที<ref>{{cite journal |author=Berg RA, Hemphill R, Abella BS, ''et al.'' |title=Part 5: adult basic life support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S685–705 |year=2010 |month=November |pmid=20956221 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970939 |url=}}</ref> ลำดับของการช่วยเหลือที่แนะนำคือให้เริ่มจากการกดหน้าอก ('''C'''hest compression) ช่วยทางเดินหายใจ ('''A'''irway) และตามด้วยการช่วยหายใจ ('''B'''reathing) คือลำดับ CAB เว้นแต่มีข้อบ่งชี้อื่น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยกดหน้าอกเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ความลึกของการกดหน้าอกสำหรับผู้ใหญ่และเด็กคือประมาณ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว) และในทารกคือประมาณ 4 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว)<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ใน ค.ศ. 2010 Resuscitation council ของอังกฤษยังแนะนำให้ใช้ลำดับการช่วยเหลือ ABC ในการช่วยกู้ชีพเด็ก<ref>{{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/pals.pdf|title=Resuscitation Council UK Paediatric Advanced Life Support Guidelines|accessdate=2010-10-24|format=PDF}}</ref> เนื่องจากการจับชีพจรอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ช่วยเหลือที่เป็นคนทั่วไปจึงได้ตัดขั้นตอนนี้ออก แม้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ก็ไม่แนะนำให้เสียเวลากับการพยายามจับชีพจรนานเกิน 10 วินาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในการกดหน้าอกผู้ใหญ่ให้ใช้สองมือ ในเด็กใช้มือเดียว และในทารกใช้สองนิ้ว<ref>{{cite book|coauthors=Mohun, Janet et al.|title=First Aid Manual|publisher=St John Ambulance, St Andrews Ambulance and British Red Cross}}</ref>
 
=== แบบกดหน้าอกอย่างเดียว ===
หมายถึงการกดหน้าอกเพื่อช่วยกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจ<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} เป็นวิธีที่ให้ใช้ได้สำหรับผู้ช่วยเหลือที่ไม่ได้รับการฝึกฝนมาก่อนหรือไม่เชี่ยวชาญเนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถทำไปพร้อมกับรับคำแนะนำทางโทรศัพท์ได้โดยง่าย<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}}<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}}<ref name=Lancet2010>{{cite journal |author=Hüpfl M, Selig HF, Nagele P |title=Chest-compression-only versus standard cardiopulmonary resuscitation: a meta-analysis |journal=Lancet |volume= 376|issue= 9752|pages= 1552–7|year=2010 |month=October |pmid=20951422 |pmc=2987687 |doi=10.1016/S0140-6736(10)61454-7 |url=}}</ref> วิธีการกดหน้าอกเหมือนกันกับในวิธีมาตรฐานคือกดด้วยอัตราอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที เชื่อว่าการแนะนำให้มีการกดหน้าอกเพื่อกู้ชีพโดยไม่มีการช่วยหายใจนี้จะทำให้มีผู้ช่วยเหลือที่สมัครใจจะเข้ามาช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นได้มากขึ้น<ref name=EMS37-6>{{cite journal|last= Ewy|first=Gordon A|month=June | year=2008|title=Cardiocerebral Resuscitation: Could this new model of CPR hold promise for better rates of neurologically intact survival?|accessdate=2008-08-02|url=http://emsresponder.com/print/Emergency--Medical-Services/CARDIOCEREBRAL-Resuscitation/1$7857 |journal=EMS Magazine|publisher=Cygnus|volume=37|issue=6|doi= |pages=41–49}}</ref>
เส้น 36 ⟶ 39:
=== โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพ ===
มีการศึกษาวิจัยหลายชิ้นที่พบว่าโอกาสที่ผู้ที่มีหัวใจหยุดนอกที่พักอาศัยจะได้รับการช่วยกู้ชีพจากผู้เห็นเหตุการณ์ที่เป็นคนทั่วไปหรือคนในครอบครัวอยู่ที่ 14% - 45% โดยมีมัธยฐานอยู่ที่ 32% บ่งบอกว่าผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกที่พักอาศัยประมาณหนึ่งในสามได้รับการช่วยเหลือด้วยการช่วยกู้ชีพ อย่างไรก็ดีประสิทธิภาพของการช่วยกู้ชีพที่ได้รับนั้นมีความแตกต่างกันไป การศึกษาวิจัยบางชิ้นพบว่าผู้ช่วยกู้ชีพเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่ทำการช่วยกู้ชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง งานวิจัยใหม่พบว่าคนทั่วไปที่เคยได้รับการอบรมการช่วยกู้ชีพส่วนใหญ่ไม่มีความมั่นใจและความสามารถที่เพียงพอในการช่วยกู้ชีพให้เหมาะสม ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เชื่อว่าควรมีการปรับปรุงคุณภาพของการฝึกสอนการกู้ชีพ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับการฝึกมีความมั่นใจที่จะให้การกู้ชีพได้ดีมากขึ้น
 
=== โอกาสของการได้รับการช่วยกู้ชีพทันเวลา ===
การช่วยกู้ชีพจะมีโอกาสประสบผลสำเร็จก็ต่อเมื่อได้เริ่มทำภายใน 6 นาที หลังการไหลเวียนของเลือดหยุดลงเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่เนื้อสมองส่วนที่ขาดเลือดจะเสียหายอย่างถาวร เซลล์สมองเหล่านี้เมื่อขาดออกซิเจนเป็นเวลา 4-6 นาที ก็จะมีความเสียหายเกิดขึ้นและไม่สามารถกลับคืนเป็นปกติได้แม้ได้รับออกซิเจนกลับเข้าไปตามเดิม อาจมีข้อยกเว้นในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดหัวใจหยุดเต้นในสภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำมากๆ เนื่องจากภาวะอุณหภูมิกายต่ำจะลดอัตราของกระบวนการทางกายภาพและทางเมตาบอลิกลง ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ต้องการออกซิเจนลดลง มีผู้ป่วยบางรายที่หัวใจหยุดเต้นในภาวะอุณหภูมิกายต่ำแล้วรอดชีวิตจากการให้การช่วยกู้ชีพด้วยการนวดหัวใจผายปอด การช็อกไฟฟ้า และการให้อุณหภูมิด้วยเทคนิกขั้นสูง ได้
เส้น 47 ⟶ 51:
 
== อ้างอิง ==
 
 
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
[[หมวดหมู่:การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ]]
{{โครงแพทย์}}
{{Link GA|ar}}
 
[[it:Basic Life Support#Rianimazione cardio-polmonare]]