ผู้สำเร็จราชการ

ตำแหน่งผู้แทนประมุขแห่งรัฐในรัฐร่วมประมุขหรืออาณานิคมขนาดใหญ่บางแห่ง

ในปัจจุบัน ผู้สำเร็จราชการ[1] หรือ ข้าหลวงใหญ่[1] (อังกฤษ: governor-general; governor general) บางแห่งเรียกว่าข้าหลวงต่างพระองค์[2] (ในอดีตภาษาไทยใช้ว่า เกาวนาเยเนราล) หมายถึง ผู้แทนพระองค์พระประมุขแห่งรัฐเอกราชรัฐหนึ่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปกครองรัฐเอกราชอีกรัฐหนึ่ง[3] ในอดีตตำแหน่งนี้ใช้กับผู้สำเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีก็ได้ เช่น ผู้สำเร็จราชการอินโดจีนของฝรั่งเศส

เดวิด เฮอร์ลีย์และแพตซี เรดดี, ผู้สำเร็จราชการแห่งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ รวมถึงคู่สมรสในปี ค.ศ. 2021

ราชอาณาจักรเครือจักรภพ

แก้

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขในปัจจุบัน

แก้

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขในอดีต

แก้

อาณานิคมอื่นๆในอดีต ที่มีความคล้ายคลึง

แก้

เบลเยียม

แก้

ฝรั่งเศส

แก้

เนเธอร์แลนด์

แก้

โปรตุเกส

แก้

ญี่ปุ่น

แก้

อิตาลี

แก้

อื่น ๆ

แก้
  • ฟิลิปปินส์ - มีประเทศที่เข้าปกครองอยู่สี่ชาติคือ สเปน (ค.ศ. 1565–1898), บริเตนใหญ่ (ค.ศ. 1762–1764), สหรัฐ (ค.ศ. 1898–1946), ญี่ปุ่น (ค.ศ. 1942–1945)
  • ฟินแลนด์ - มีประเทศที่เข้าปกครองอยู่สองชาติคือ สวีเดน (ค.ศ. 1595–1809), รัสเซีย (ค.ศ. 1809–1917)

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน: สาขาวิชารัฐศาสตร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2018-03-07.
  2. รู้ศัพท์ทุกสัปดาห์กับ สวถ.
  3. See, e.g., Markwell, Donald (2016). Constitutional Conventions and the Headship of State: Australian Experience. Connor Court. ISBN 9781925501155.