บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นี่เป็นเพียงข้อมูลบูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับบูมเมอแรงข้อมูลศูนย์กลางดูที่ บูมเมอแรง (สถานีโทรทัศน์) บูมเมอแรง ประเทศไทยดูที่ บูมเมอแรง ไทย (สถานีโทรทัศน์)

บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Boomerang Southeast Asia) เป็นสถานีโทรทัศน์การ์ตูน มีรูปแบบมาจากบูมเมอแรง สหรัฐอเมริกา แพร่ภาพในประเทศไทย เวียดนาม ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปินส์ ศรีลังกา และมัลดีฟส์ ภายใต้การบริหารของ[1]ระบบแพร่สัญญาณเทอร์เนอร์ บริษัทในเครือของ ไทม์ วอร์เนอร์ ซึ่งมีสำนักงานศูนย์อยู่ที่ฮ่องกง เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2548 - 30 พฤศจิกายน 2555 โดยมีช่อง ทูนามิเอเชีย มาแทนที่

บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Boomerang (Southeast Asia)
ประเทศฮ่องกง ฮ่องกง
พื้นที่แพร่ภาพฮ่องกง ฮ่องกง
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ไทย ไทย
มาเก๊า มาเก๊า
มาเลเซีย มาเลเซีย
มัลดีฟส์ มัลดีฟส์
ฟิลิปปินส์ ฟิลิปินส์
สิงคโปร์ สิงคโปร์
ศรีลังกา ศรีลังกา
เวียดนาม เวียดนาม
สาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
คำขวัญHome of the Greatest Toons of All Time
แบบรายการ
ระบบภาพ1080i (HDTV)
ความเป็นเจ้าของ
เจ้าของระบบแพร่สัญญาณเทอร์เนอร์ (ในเครือของไทม์วอร์เนอร์)
ช่องรองการ์ตูนเน็ตเวิร์ก , ทีซีเอ็ม, บูมเมอแรง (ประเทศไทย)
ประวัติ
เริ่มออกอากาศ1 กันยายน พ.ศ. 2548 (19 ปี) (ออริจินอล)
1 มกราคม พ.ศ. 2558 (9 ปี) (รีแบรนด์)
ยุติออกอากาศ1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 (12 ปี) (ออริจินอล)
28 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 (1 ปี) (รีแบรนด์)
แทนที่โดยทูนามิ
ลิงก์
เว็บไซต์www.boomerang.asia
ออกอากาศ
เคเบิลทีวี
StarHub TV (สิงคโปร์)ช่อง 317 (HD)

ประวัติบูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แก้

บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นสถานีโทรทัศน์เครือข่ายของบูมเมอแรง มีต้นแบบมาจากบูมเมอแรง สหรัฐอเมริกา เป็นช่องการ์ตูนคลาสิกที่แยกออกมาจากช่อง การ์ตูนเน็ตเวิร์ค ออกอากาศในกลุ่มประเทศเขตเอเชีย โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฮ่องกง และส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม[2] มายังประเทศต่างๆในภูมิภาค

ในอดีต ช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก เคยฉายการ์ตูนคลาสิกในยุค 60 - 90 เหมือนที่ช่องบูมเมอแรงฉายในปัจจุบัน แต่ในปัจจุบัน การ์ตูนเน็ตเวิร์กได้นำการ์ตูนแอนิเมชั่นใหม่ ๆ เข้ามาฉาย จึงได้ตัดการ์ตูนคลาสิกเก่า ๆ ออก แต่การ์ตูนคลาสิกยังคงได้รับความนิยมจากผู้ชม จึงได้เพิ่มช่วง บูมเมอแรง เป็นช่วงพิเศษในช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2542 ซึ่งฉายการ์ตูนคลาสิกเก่า ๆ แต่เนื่องจากการ์ตูนนั้นมีมากมายหลายเรื่อง ไทม์ วอร์เนอร์ จึงเปิดช่องบูมเมอแรงเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 โดยนำช่วงพิเศษบูมเมอแรงในการ์ตูนเน็ตเวิร์กออกมาทำเป็นสถานีโทรทัศน์ช่องการ์ตูนช่องใหม่อย่างเต็มรูปแบบ

  • 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบรายการและโลโก้ของช่องใหม่ โดยให้เหมือนกับช่องบูมเมอแรงสหรัฐอเมริกา
  • ต่อมา บูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุติออกอากาศในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และมีช่องการ์ตูนช่องใหม่ชื่อว่า "ทูนามิ" มาแทนที่ และมีกำหนดการรีแบรนด์เครือข่ายช่องบูมเมอแรงทั่วโลก ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558[3]
  • ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 บูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง[4]
  • 28 กรกฎาคม พ.ศ 2566 บูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ยุติออกอากาศเป็นครั้งที่ 2 และถูกแทนที่โดย การ์ตูนนิโต้

บูมเมอแรง ในประเทศไทย

แก้
  • 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ได้เปิดตัวช่อง บูมเมอแรงประเทศไทย ออกอากาศทางดาวเทียมไทยคม 6A โดยมีรูปแบบมาจากบูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออกอากาศเป็นภาษาไทยอย่างเต็มรูปแบบวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556
  • ในอดีตบูมเมอแรงในประเทศไทยรับสัญญาณจาก บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกใต้ แพร่ภาพออกอากาศอยู่ในเคเบิลทีวีท้องถิ่น โดย ไทม์ วอร์เนอร์ ได้มอบสิทธิการแพร่ภาพช่องบูมเมอแรงประเทศไทยให้กับ “บริษัท พี.เซาท์เทอร์นเน็ทเวอร์ค จำกัด” หรือ "พีเอสเอ็น"[5] เป็นผู้ถือสิทธิในประเทศไทย โดยการขายช่องรายการให้กับผู้ประกอบการเคเบิลท้องถิ่น ไปแพร่ภาพให้กับสมาชิก

การ์ตูนที่ฉายในทางบูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แก้
  • 2 Stupid Dogs
  • The 13 Ghosts of Scooby-Doo
  • The Addams Family
  • Alf
  • Alvin and the Chipmunks
  • Astro and the Space Mutts
  • Atom Ant
  • Atomic Betty
  • Augie Doggie and Doggie Daddy
  • Birdman and the Galaxy Trio
  • The Bugs and Daffy Show
  • Captain Caveman and the Teen Angels
  • The Captain Planet Series
    • Captain Planet and the Planeteers
    • The New Adventures of Captain Planet
  • Casper and the Angels
  • Cave Kids
  • The Centurions
  • Challenge of the GoBots
  • Dastardly and Muttley in their Flying Machines
  • The Droopy Dog Series
    • Droopy Dog|The Droopy Dog Show
    • Droopy: Master Detective
  • Dumb and Dumber
  • Dynomutt, Dog Wonder
  • Fangface
  • Fantastic Four (ปี 1967)
  • Fantastic Max
  • The Flintstones Series
    • The Flintstones
    • The Flintstone Kids
    • The Pebbles and Bamm-Bamm Show
  • Frankenstein Jr. and The Impossibles
  • The Funky Phantom
  • The Great Grape Ape Show
  • Hanna-Barbera's Cartoon Corral
  • Heathcliff and Marmaduke & Heathcliff and Dingbat
  • Help! It's the Hair Bear Bunch
  • The Herculoids
  • Hong Kong Phooey
  • Huckleberry Hound
  • Inch High, Private Eye
  • Jabberjaw
  • The Jetsons
  • Jonny Quest
  • The Josie and the Pussycats Series
    • Josie and the Pussycats
    • Josie and the Pussycats in Outer Space
  • Lippy the Lion & Hardy Har Har
  • Little Red Tractor
  • The Looney Tunes Show
  • Magilla Gorilla
  • Matt's Monters
  • Monchhichis
  • Mr. T
  • MGM (การ์ตูนสั่นของค่าย เอ็มจีเอ็ม)
  • The New Shmoo
  • Pac-Man
  • Paddington Bear
  • Paw Paws
  • The Perils of Penelope Pitstop
  • Police Academy
  • The Popeye Series
    • The All-New Popeye Show
    • The Popeye Show
  • Postman Pat
    • Postman Pat : Special Delivery Service‎
    • Guest with Jess
  • Pound Puppies
  • The Pirates of Dark Water
  • Pixie & Dixie
  • Quick Draw McGraw
  • The Real Adventures of Jonny Quest
  • Richie Rich
  • Scooby-Doo
    • A Pup Named Scooby-Doo
    • Laff-A-Lympics
    • The New Scooby-Doo Movies
    • The New Scooby-Doo Mysteries
    • Scooby-Doo and Scrappy-Doo
    • Scooby-Doo, Where Are You!
  • Sealab 2020
  • Secret Squirrel
  • Shirt Tales
  • The Smurfs
  • Snagglepuss
  • The Snorks
  • Space Ghost
  • Speed Buggy
  • SWAT Kats
  • Sylvester and Tweety Mysteries
  • Tom and Jerry Kids
  • Top Cat
  • Wacky Races
  • Winx Club
  • Wait Till Your Father Gets Home
  • Wally Gator
  • Yakky Doodle
  • The Yearling
  • The Yogi Bear Series
    • The New Yogi Bear Show
    • Yo Yogi!
    • Yogi's Gang
    • Yogi's Space Race
    • Yogi's Treasure Hunt
  • Young Robin Hood

โลโก้

แก้
1 กันยายน 2548 - 2 พฤศจิกายน 2550 3 พฤศจิกายน 2550 - 30 พฤศจิกายน 2555 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป
     

อ้างอิง

แก้
  1. http://www.turner.com/about/networks_and_businesses.html
  2. http://www.lyngsat.com/asia3s.html
  3. Littleton, Cynthia (October 14, 2014). "Turner Sets Global Relaunch of Boomerang to Focus on Family Viewing". Variety. สืบค้นเมื่อ October 14, 2014.
  4. http://www.awn.com/news/boomerang-bounces-back-asia
  5. http://www.positioningmag.com/magazine/PrintNews.aspx?id=29632

ดูเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้