ธเนศวร์ เจริญเมือง

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ[1] เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ อดีตรองเลขาธิการฝ่ายการเมือง ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์[2] สำนักวิชาการเมืองและการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่[3]

ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง

ประวัติการศึกษา

แก้

ผลงานวิชาการ

แก้
  • เสิ้อหม้อห้อมไม่ใช่สัญลักษณ์ของคนเมือง .2535
  • วัฒนธรรมล่มสลาย:ป้อก่อเมือง แม่ก่อเมือง ลูกอู้เมืองบะจ้าง.2536
  • แม่น้ำปิงในประวัติศาสตร์.2536
  • เศรษฐกิจนครเชียงใหม่ : จากปัจจุบันสู่อนาคต.2536
  • มาจากล้านนา.รวมบทความการเมือง,ปรับปรุง,เศรษฐกิจและวัฒนธรรมภาคเหนือตอนบน.2537
  • เลือกตั้งผู้ว่าฯ.2537
  • ไทย พม่า ลาว จีน : สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ สี่เหลี่ยมวัฒนธรรม.2538
  • ฉักรักต้นขะยอม: ต้นไม่กับสิ่งแวดล้อม.2538
  • มาจากล้านนา,ปรับปรุงและจัดพิมพ์ครั้งที่ 2,2539
  • เชียงใหม่ 700 ปี : ฉลองวันเกิดเมือง เลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง.2539 เขียนแผ่นดินเชียวงใหม่ .2539
  • 100 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย,พ.ศ. 2440 – 2540.2540
  • การปกครองเมืองสังคมไทย: กรณีเชียงใหม่ 7 ศตวรรษ.2541
  • การศึกษา,ท้องถิ่นกับอนาคตสังคมไทย.2542
  • เทศบาลในศตวรรษหน้า: เลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง.2542
  • 100 ปี สายสัมพันธ์สยาม – ล้านนา พ.ศ. 2442 – 2542.2542
  • ว้ากน้อง : การสร้างและสืบทอดระบบเผด็จการในมหาวิทยาลัย.2543
  • คนเมือง: ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยใหม่.2544
  • จรัล มโนเพ็ชร: ศิลปินล้านนาแห่งยุคสมัย.2545
  • 100 ปีแห่งรัก: หมะเมียะ – เจ้าศุขเกษม,พ.ศ .2446 – 2546.2546
  • แนวคิดว่าด้วยการเป็นพลเมือง.2547
  • รัฐศาสตร์ที่ยังมีลมหายใจ.2548
  • พลเมืองกับท้องถิ่นเข้มแข็ง.2549
  • ว้ากน้อง: การสร้างและสืบทอดระบบเผด็จการในมหาวิทยาลัย,ปรับปรุงและจัดพิมพ์ครั้งที่2 .2549
  • 7 ทศวรรษ เทศบาลนครเชียงใหม่(พ.ศ. 2476 - 2549).2549
  • Thailand : A Late Decentralizing Country .2006
  • การปกครองท้องถิ่นกับการบริหารจัดการท้องถิ่น:อีกมิติหนึ่งของอารยธรรมโลก,ภาคที่ 1.2550
  • 100 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย,พ.ศ. 2440 – 2540 .ปรับปรุงและจัดพิมพ์ครั้งที่ 6, 2550
  • พลเมืองเข้มแข็ง,ปรัปรุงจากแนวคิดว่าด้วยความเป็นพลเมือง.2551
  • ทฤษฎีและแนวคิด : การปกครองท้องถิ่นกับการบริหารจัดการท้องถิ่น,ภาคแรกครั้งที่ 1.2552
  • คนเมือง : ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยใหม่ (พ.ศ 2317 - 2552),พิมพ์ครั้งที่ 1 ,2552
  • ประชาธิปไตยกับสังคมไทย (24 มิถุนายน 2475 – กุมภาพันธ์ 2553),2553
  • อุตรโครียานุวัตร

ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง เป็นผู้เสนอคำว่า "อุตรโครียานุวัตร" เมื่อวันที่ 21 ธ.ค. ที่ผ่านมา ที่ห้องประชุมใหญ่ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นการจัดเสวนา "6 ทศวรรษ กับการเปลี่ยนแปลงในสังคมท้องถิ่นล้านนา" เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการของท่านเอง ซึ่ง ศ.ดร.ธเนศวร์ ได้กล่าวปิดการเสวนาว่าผลจากภาวะ "สยามานุวัตร" หรือการรวมศูนย์อำนาจอย่างหนักของประเทศในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้มีแนวโน้มของสิ่งที่เรียกว่า "อุตรโครียานุวัตร" ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้[5]

ประวัติการทำงานอื่น ๆ

แก้
  • รองประธานมูลนิธิสถาบันพัฒนาเมือง (เชียงใหม่)
  • อดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยชียงใหม่[6]
  • อดีตหัวหน้าสำนักวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2552-2554)[7]
  • อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการบริหารกิจการบ้านเมืองระดับท้องถิ่น (ศบมท.) คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรรมการก่อตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย (Center for Democratization Studies) คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อดีตผู้อำนวยการโครงการศึกษาการปกครองท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์
  • อดีตประธานสภาเวียงพิงค์ (2542-2544)[8]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สร ๕๐๕/๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (จำนวน ๔ ราย ๑. ศาสตราจารย์ธเนศวร์ เจริญเมือง ฯ)
  2. โปรดเกล้าแต่งตั้งดำรง ตำแหน่งศาสตราจารย์[ลิงก์เสีย]
  3. "คณาจารย์สำนักวิชาการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-02. สืบค้นเมื่อ 2011-01-31.
  4. หนังสือ 100 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2440-2540
  5. ธเนศวร์ เจริญเมือง: จากสยามานุวัตรถึงอุตรโครียานุวัตร
  6. ประกาศแต่งตั้ง กรรมการสภามหาวิทยาลัยชียงใหม่[ลิงก์เสีย]
  7. ประกาศแต่งตั้ง หัวหน้าสำนักวิชาการเมืองการปกครอง[ลิงก์เสีย]
  8. หนังสือรัฐศาสตร์ที่ยังมีลมหายใจ
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔, เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๒๐, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๔๑, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้