ตราแผ่นดินของเยอรมนี

ตราแผ่นดินของเยอรมนี (เยอรมัน: Bundesadler) เป็นตราอาร์มของประเทศเยอรมนีที่ประกอบด้วยเหยี่ยว สีของตราคล้ายกับสีของธงชาติเยอรมนี (ดำ แดง และ ทอง) และเป็นตราประจำชาติที่เก่าที่สุดตราหนึ่งของยุโรป และของโลก[ต้องการอ้างอิง]

ตราอาร์มของเยอรมนี
ตราอาร์มรุ่นต่าง ๆ
เหยี่ยวที่ใช้โดยสถาบันของรัฐบาล
รายละเอียด
ผู้ใช้ตรารัฐบาลกลางแห่งเยอรมนี
เริ่มใช้20 มกราคม ค.ศ. 1950
โล่พื้นตราสีทอง เหยี่ยวสีดำ, ขา จะงอยปาก และลิ้นสีแดง
ตราย่อ / ตรารุ่นก่อนหน้ารุ่นปัจจุบันเริ่มนำมาใช้ระหว่างปลายสมัยสาธารณรัฐไวมาร์

ยุคกลางและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แก้

 
ชาร์เลอมาญโดยอัลเบรชท์ ดือเรอร์ ที่มีเหยี่ยวเยอรมัน และสัญลักษณ์ดอกลิลลีของฝรั่งเศสเหนือพระเศียร

ประวัติของการใช้เหยี่ยวเป็นสัญลักษณ์เริ่มตั้งแต่สมัยแรก จักรวรรดิโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์สงวนการใช้รูปเหยี่ยวสำหรับสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้นโดยเฉพาะสำหรับพระเจ้า และ จักรพรรดิ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความคงกระพัน ต่อมาเหยี่ยวก็กลายเป็นสัญลักษณ์ของหลวงในรูปของเหยี่ยวทอง (Golden Eagle) ที่เรียกกันในภาษาเยอรมันว่า “เหยี่ยวเยอรมัน” (Reichsadler) ที่อาจจะใช้มาตั้งแต่รัชสมัยของชาร์เลอมาญ (ค.ศ. 742–ค.ศ. 814) ราวปี ค.ศ. 1200 เหยี่ยวดำบนทุ่งทองมักจะทราบกันว่าเป็นตราอาร์มหลวง

ในปี ค.ศ. 1433 ก็เริ่มมีการใช้เหยี่ยวสองหัวเป็นครั้งแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิซิจิสมุนด์แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่นั้นมาเหยี่ยวสองหัวกลายมาเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิเยอรมัน และเป็นตราอาร์มจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จากตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมาจักรพรรดิก็ทรงใส่ตราของราชวงศ์ของตนเองบนอกของเหยี่ยว หลังจากการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1806 รัฐเยอรมันและสัญลักษณ์ของรัฐร่วมก็สิ้นสุดลง

ตราอาร์มของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
 
 
 
 
ตราอาร์มของ
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3
ในฐานะพระมหากษัตริย์เยอรมนี
ค.ศ. 1446
ตราอาร์มของ
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ในหนังสือ
ตราอาร์มของ
จักรพรรดิโจเซฟที่ 2
ค.ศ. 1765
ตราอาร์มของ
ค.ศ. 1804 - ค.ศ. 1806
ภายใต้จักรพรรดิองค์สุดท้าย
จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2
(จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย)

สมาพันธรัฐเยอรมัน แก้

ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมัน
 
 
 
ตราอาร์มของ
(จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย)
ค.ศ. 1815
ตราประทับเอกสารทางราชการ และ หน่วยงานราชการ ตราแผ่นดินอย่างย่อ

สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ แก้

ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
 
ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ ค.ศ. 1867–1871.

จักรวรรดิเยอรมัน แก้

ตราแผ่นดินของจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918).
 
 
 
 
 
มหาจลัญจกรณ์ใหญ่ของจักรวรรดิเยอรมัน: ใช้ในการประทับตราเอกสารราชการ. มหาจลัญจกรณ์ใหญ่ของจักรพรรดิเยอรมัน: ใช้ในการประทับตราเอกสารในราชสำนัก. Provisional arms of the German Empire at the Proclamation of Versailles.

27 เมษายน 1871–3 สิงหาคม 1871

ตราแผ่นดินของจักรวรรดิเยอรมัน, ค.ศ. 1871–1889.

3 สิงหาคม ค.ศ. 1871 – 1888

ตราแผ่นดินที่ใช้ในหน่วยงานราชการ และ เอกสารทางราชการ, ค.ศ. 1889–1918.

6 ธันวาคม ค.ศ. 1888 – 1918

สาธารณรัฐไวมาร์ แก้

 
ตราแผ่นดินบนหน้าปกรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐไวมาร์.
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐไวมาร์ (ค.ศ. 1919–1933)
     
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐไวมาร์. ตราแผ่นดินสำหรับธงราชการของสาธารณรัฐไวมาร์. ตราแผ่นดินตั้งแต่ ค.ศ. 1928 (Reichswappen) หรือReichsadler.

ไรช์ที่สาม แก้

ตราแผ่นดินไรช์ (ค.ศ. 1935–1945)
   
ตรา โฮไอช์ไซเชิน (Hoheitszeichen)
ใช้ในรัฐบาลและสภา
ตรา พาร์ไตอัดเลอร์ (Parteiadler)
ใช้ในพรรคนาซี

สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี แก้

ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี
     
ค.ศ. 1950–1953. ค.ศ. 1953–1955. ค.ศ. 1955–1990.

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี แก้

 
 
 
 
 
ตราแผ่นดิน (Bundeswappen) ตราแผ่นดินสำหรับธงราชการ และ ธงกองทัพ (Bundesschild). ธงประธานาธิบดี. ตราแผ่นดินบนหนังสือเดินทาง และ สถาบันของรัฐบาล. ตราแผ่นดินบนเหรียญ1 มาร์คเยอรมัน (ถึง ค.ศ. 2002).

อ้างอิง แก้

  • Ströhl, Hugo Gerard: Deutsche Wappenrolle, Stuttgart 1897 (Reprint Cologne - ISBN 3-89836-545-X)
  • Laitenberger, Birgit; Bassier, Maria: Wappen und Flaggen der Bundesrepublik Deutschland und ihrer Länder, 5th revised edition, Cologne 2000 - ISBN 3-452-24262-5

หนังสืออ่านเพิ่มเติม แก้

  • Ströhl, Hugo Gerard (1897), Deutsche Wappenrolle (Reprint Cologne ed.), Stuttgart, ISBN 3-89836-545-X.
  • Laitenberger, Birgit; Bassier, Maria (2000), Wappen und Flaggen der Bundesrepublik Deutschland und ihrer Länder (5th revised ed.), Cologne, ISBN 3-452-24262-5.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้